Page 137 - Ebook
P. 137
เครื่องมือและวิธีการใช
ึ
ื
ึ
1. ใชเคร่องมือตรวจปริทันต CPI Probe ซ่งมีปลายขางหน่งเปนปุมกลม (ball tip) ขนาด 0.5 mm
ี
ี
และมีแถบดำท่ระยะระหวาง 3.5 – 5.5 mm และขีดดำท่ 8.5 และ 11.5 mm จากปลาย
ื
ื
2. สอดเคร่องมือลงในรองเหงือก เพ่อประเมินการมีเลือกออก (bleeding on probing) ใชแรงกดไมเกิน
ั
ื
ี
20 กรัม สามารถทดสอบขนาดแรงท่พอดีไดโดยสอดปลายเคร่องมือเขาไปใตซอกเล็บจนกระท่ง
มีรอยซีด เหงือกที่แข็งแรงจะไมมีเลือดออกจากการกดดวยแรงขนาดเทาน ้ ี
ั
ี
ื
ภาพ 80 แสดงขนาดแรงท่พอดีไดโดยสอดปลายเคร่องมือเขาไปใตซอกเล็บจนกระท่งมีรอยซีด
เอ้อเฟอภาพโดย: รศ.ทญ.ดร.ผกาภรณ พันธุวดี พิศาลธุรกิจ
ื
3. ตรวจหาหินน้ำลาย (calculus) และรองลึกปริทันต (periodontal pocket) การหาหินน้ำลายใตเหงือก
ใหใชแรงเบาที่สุดที่จะสามารถเคลื่อนปลายปุมกลมขึ้นตามผิวฟนได พยายามใหปลายปุมกลม
ื
ื
เคล่อนแนบไปกับรากฟนเสมอ สอดปลายเคร่องมือลงไปเบาๆ เพ่อวัดความลึกจนถึงขอบใตสุด
ื
ื
ของรอง ยกตัวอยางเชน สอดเคร่องมือลงไปในรองลึกของเหงือกบริเวณดานแกมไกลกลาง
ี
ี
ื
ี
ี
(disto–buccal) ของฟนกรามซี่ท่ 2 ใหเคร่องมือเขาใกลจุดสัมผัสกับฟนกรามซ่ท่ 3 ใหมากท่สุด
โดยวางเครื่องมือใหขนานกับแนวด่งของฟนจากน้นลากเคร่องมือข้นลงเบาๆ ไปตามแนวดานแกม
ึ
ื
ั
ิ
ั
(buccal surface) จนถึงดานใกลกลาง (mesial surface) ของฟนกรามซ่ที่ 2 และหลังจากน้น
ี
ี
ิ
ก็เร่มจากดานไกลกลางติดแกม (disto–buccal) ของฟนกรามซ่ท่ 1 จนไปถึงจุดสัมผัส
ี
ิ
กับฟนกรามนอย สวนดานติดล้นก็ทำเชนเดียวกันโดยเร่มจากดานล้นไกลกลาง (disto–lingual)
ิ
ิ
ไปหาฟนกรามซี่ที่ 2
134