Page 102 - Ebook
P. 102

ขอความทายบท



                        •  ความผิดปกติของชั้นผิวเคลือบฟนมีหลายสาเหตุ

                        •  อาการแสดงที่คลายคลึงกันอาจเกิดจากสาเหตุที่แตกตางกันได ในทางกลับกันสาเหตุเดียวกัน

                           อาจทำใหเกิดอาการแสดงที่ตางกันไดถากระทำที่ระยะเวลาการสรางฟนที่แตกตางกัน

                        •  ความผิดปกติของช้นผิวเคลือบฟนท่พบมาก คือ ฟนตกกระ
                                                         ี
                                           ั
                        •  ภาวะฟนตกกระ คือ ภาวะท่ฟนมี permanent hypomineralization และมีเน้อฟนรูพรุน
                                                  ี
                                                                                               ื
                           (subsurface porosity)

                        •  ภาวะฟนตกกระเกิดจากการไดรับฟลูออไรดมากเกินขนาดขณะที่สรางเน้อฟน ซ่งอาจเกิดจาก
                                                                                        ื
                                                                                              ึ
                           การบริโภคปริมาณฟลูออไรดมากเกินขนาด (จากน้ำด่ม อาหาร ยาสีฟน วิตามินรวม) หรือ
                                                                        ื
                           จากการไดรับฟลูออไรดเสริมตามท่ทันตแพทยส่งจาย
                                                        ี
                                                                    ั
                        •  การเลือกใชดัชนีที่เหมาะสมจะชวยใหไดผลการศึกษาตามตองการ





                  เอกสารอางอิง




                     1.     Cutress TW, Suckling GW. The assessment of non-carious defects of enamel. Int

                            Dent J 1982;32(2):117-22.

                     2.     Drummond BK, Kilpatrick N, editors. Planning and care for children and adolescents

                            with enamel defects. Berlin Heidelberg: Springer-Verlag 2015.

                     3.     Salanitri S, Seow WK. Developmental enamel defects in the primary dentition:

                            aetiology and clinical management. Australian Dental Journal 2013;58(2):133-40.

                     4.      Sunderland EP, Smith CJ, Sunderland R. A histological study of the chronology of

                            initial mineralization in the human deciduous dentition. Archives of Oral Biology

                            1987;32(3):167-74.

                     5.    Li Y, Navia JM, Bian J-Y. Prevalence and distribution of developmental enamel

                            defects in primary dentition of Chinese children 3–5 years old. Community Dentistry

                            and Oral Epidemiology 1995;23(2):72-79.










       99
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107