Page 107 - Ebook
P. 107

บทที่ 4 ระบาดวิทยาของรากฟนผุ

                                                                                         ี
                                         ี
               แนวคิดหลัก : ความเขาใจเก่ยวกับรากฟนผุ การวินิจฉัย ดัชนีการตรวจ และปจจัยเส่ยงของการเกิดรากฟนผ  ุ
               และเลือกการวัดรากฟนผุไดอยางเหมาะสม
               __________________________________________________________________________________

               ความหมายและความสำคัญ


                                                                                               ี
                       รากฟนผุไดถูกอธิบายคร้งแรกโดย Banting และคณะในป 1980  หมายถึง รอยผุท่บริเวณรากฟนต่ำ
                                            ั
                                                                              (1)
               กวารอยตอระหวางเคลือบฟนและเคลือบรากฟน โดยสวนใหญเกิดจากการสูญเสียการยึดเกาะของเย่อเก่ยวพัน
                                                                                                     ื
                                                                                                         ี
               กับผิวรากฟนบริเวณน้นทำใหรากฟนโผลออกมาในชองปาก โดยท่วไปจะมีความสัมพันธกับอายุและสภาวะ
                                                                          ั
                                   ั
               เหงือกรน มักพบใกลตำแหนงของยอดเหงือกที่มีคราบจุลินทรียเกาะ (2)
                       ในปจจุบันประเทศไทยไดกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ ซ่งหมายถึงการมีจำนวนประชากรรวมท้งเพศชาย
                                                                    ึ
                                                                                                      ั
                                                                                   ั
               และเพศหญิงอายุ 60 ปข้นไปมากกวารอยละ 10 ของประชากรท้งประเทศต้งแต ป พ.ศ. 2548 และคาดวา
                                                                         ั
                                      ึ
                                                                           ิ
                                                                     ึ
               จะเขาสูสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณ คือ เม่อประชากรอายุ 60 ปข้นไปเพ่มจำนวนข้นเปนรอยละ 20 ของประชากร
                                                                                   ึ
                                                  ื
                        ั
               โดยรวมท้งประเทศคาดการณประมาณปพ.ศ. 2564  ในทางทันตกรรมโรคในชองปากท่พบในกลุมผูสูงอาย        ุ
                                                                                             ี
                                                            (3, 4)
               ไดแก โรคฟนผุ โรคปริทันต และการสูญเสียฟน อยางไรก็ตาม ผูสูงอายุมีแนวโนมท่มีจำนวนฟนท่เหลืออยูในชองปาก
                                                                                  ี
                                                                                              ี
               มากกวาในอดีต เนื่องมาจากการพัฒนาเทคโนโลยีทางทันตกรรม การสงเสริมปองกันที่มากขึ้น และการเขาถึง
                                            ิ
                                                                                    ิ
                                                                                       ึ
                                               ึ
                                                                 ี
                                          ี
               การรับบริการทางทันตกรรมท่เพ่มข้น การมีจำนวนฟนท่เหลืออยูในชองปากเพ่มข้นในผูสูงอายุ หากไมไดรับ
               การดูแลรักษาท่ถูกตอง อาจเพ่มความเส่ยงในการเกิดโรคในชองปากมากข้น นอกจากนี้การที่ผูสูงอายุมีโรคประจำตัว
                                                                            ึ
                             ี
                                                ี
                                        ิ
               หรือไดรับยาในการรักษาโรคบางชนิดก็เปนสาเหตุท่เพ่มความเส่ยงตอการเกิดโรคฟนผุ และโรคปริทันต
                                                                 ิ
                                                               ี
                                                                          ี
               ในผูสูงอายุได เชน ผูปวยโรคเบาหวานโรคหัวใจ และหลอดเลือดที่ไดรับยาที่มีผลทำใหน้ำลายแหง  เปนตน
                                                                                                   (5)
                       รอยโรคฟนผุที่พบไดบอยในผูสูงอายุ คือ ฟนผุท่รากฟน ซ่งโดยรากฟนบริเวณท่เกิดการผุมักเกิดการ
                                                                         ึ
                                                                                            ี
                                                                 ี
                                                                                 ั
               เปล่ยนสีเปนสีท่เขมข้น น่ม มีขอบเขตที่ชัดเจน และไมชัดเจน มักลุกลามไปถึงช้นเน้อฟน นอกจากน้รอยผุที่รากฟน
                                                                                    ื
                                    ิ
                             ี
                                 ึ
                   ี
                                                                                                  ี
                                                                                      ื
                                                                                  ื
                                                                                         ี
               สามารถเกิดข้นท่บริเวณใตตอมเหงือกโดยท่ไมเกิดการสูญเสียการยึดเกาะของเน้อเย่อเก่ยวพัน ซ่งพบไดประมาณ
                                                                                                ึ
                           ึ
                              ี
                                                    ี
               รอยละ 10-20  รอยโรคฟนผุที่บริเวณรากฟนเปนสภาวะที่ตองเฝาระวังเน่องจากมักจะไมมีอาการพบการขยาย
                                                                               ื
                            (6)
                                                                                                            
                                                                                               
                                                                                 ื
               ไปตามรอยตอระหวางเคลือบฟน และเคลือบรากฟนเปนบริเวณกวางไปตามพ้นผิว รอยโรคใกลโพรงประสาทฟน
               และยากแกการบูรณะ ลักษณะทางคลินิกของรอยโรคฟนผุที่บริเวณรากฟนอาจเกิดรวมกับตำแหนงที่มีการสึก
                                                                       ื
               ของฟนหรือตำแหนงที่มีการบูรณะฟนเดิมอยูแลว รอยผุรากฟนมีเช้อ Mutans Streptococci และ Lactobacilli
               ท่เปนสาเหตุเหมือนกับรอยผุในสวนตัวฟน แตความเปนกรดเบสวิกฤติ (critical pH) ในการเกิดการละลายของแรธาต  ุ
                 ี
                                                               ื
                                                           ื
               และบทบาทของเอนไซมในการยอยโปรตีนของเน้อเย่อซ่งทำใหอัตราการดำเนินโรคมีความตางกันระหวาง
                                                                  ึ
               รอยผุรากฟนและรอยผุในสวนตัวฟน (7)
                                                                                                               104           105
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112