Page 108 - Ebook
P. 108
การวินิจฉัยรอยผุที่รากฟน
ื
การตรวจทางคลินิกดวย explorer หรือ probe เพ่อบอกถึงลักษณะ และเน้อผิวของรอยผุรากฟน
ื
ี
เปนการวินิจฉัยท่งายและสะดวกท่สุด แนะนำใหมีการกำจัดคราบจุลินทรียออกกอนการตรวจเพ่อใหได
ี
ื
ี
ผลการตรวจท่ถูกตอง ใชการวินิจฉัยดวยสายตาเพ่อประเมิน สี รูปราง ความลึก และใชการสัมผัส
ื
เพื่อประเมินลักษณะและผิวของรอยผุรากฟน
การถายภาพรังสี สามารถชวยในการวินิจฉัยไดดี หากไมมีการซอนทับของฟน (overlap) หรือ
ึ
ี
ปรากฏแถบบริเวณคอฟนท่คลายรอยผุรากฟน (cervical burnout) ซ่งอาจจะทำใหเกิดความเขาใจผิด
ในการวินิจฉัยรอยผุรากฟน
ี
ึ
สียอมพิเศษ ซ่งใชในการวินิจฉัยรอยผุท่รากฟน สียอมนี้จะติดบริเวณเนื้อฟนท่มีรอยผุไดด ี
ี
ประเภทของรอยผุรากฟน
ี
รอยผุรากฟนระยะเริ่มแรก มีสีขาว อาจเปล่ยนสี เปนสีน้ำตาลหรือเหลืองออน มีลักษณะต้น ไมมีอาการ
ื
ิ
รอยผุรากฟนท่มีลักษณะลุกลาม สีน้ำตาลหรือเหลือง น่ม มีขอบเขตที่ชัดเจน และไมชัดเจน มักลุกลาม
ี
ไปถึงชั้นเนื้อฟน มักถูกปกคลุมดวยคราบจุลินทรีย
ั
ึ
รอยผุรากฟนท่ไมลุกลาม มีการหยุดย้งของรอยผุ ลักษณะขอบเขตท่ชัดเจน เปล่ยนเปนสีที่เขมข้น
ี
ี
ี
ี
ี
เปนสีน้ำตาลเขมหรือสีดำ ผิวมันเงา ไมมีคราบจุลินทรีย แข็ง พบในผูสูงอายุท่มีอนามัยในชองปากท่ด ี
การวัดการเกิดรากฟนผุ
การวัดการเกิดรากฟนผุ สามารถวัดไดดวยรอยละความชุก (prevalence) หรือคาเฉล่ยจำนวนดาน
ี
ที่รากฟนผุและอุด (root decayed and filled surfaces (RDFS)) หรือ ดัชนีรอยผุรากฟนดังตอไปนี้
1. ความชุก (prevalence) และอุบัติการณ (incidence) ของรากฟนผ ุ
2. คาเฉลี่ยจำนวนดานที่รากฟนผุและอุด (root decayed and filled surfaces (RDFS))
3. Root caries index (RCI)
4. Root surface severity index
5. C-Root caries (ICDAS II)
104 105