Page 109 - Ebook
P. 109

ุ
                 1. ความชุกและอุบัติการณของรากฟนผ โดยปกติในการศึกษาทางระบาดวิทยา มักจะวัดความชุกในการศึกษา
                              ื
                                                                   ี
                 ภาคตัดขวางเพ่อประเมินการมีอยูของโรคในกลุมประชากรท่สนใจเพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการหาสาเหตุของโรค
                 และวางแผนการใหบริการหลายๆ การศึกษา  ไดรายงานความชุกของรากฟนผุในกลุมตางๆ เชน
                                                            (8)
                                                 ี
                 ความชุกของรากฟนผุในกลุมผูสูงอายุท่พึ่งตนเองได ความชุกของรากฟนผุในกลุมผูใหญในเขตเมืองและเขตชนบท
                                                ี
                                                                            ึ
                 โดยจะพบความชุกสูงในกลุมผูสูงอายุท่มีภาวะออนแอหรือผูสูงอายุภาวะพ่งพิง  สวนการวัดอุบัติการณของรากฟนผ ุ
                                                                                (9)
                                                                                                       ี
                                                                              ึ
                                          ี
                                                                                       ี
                 เปนการวัดสัดสวนของคนท่มีรากฟนผุเกิดใหมในชวงระยะเวลาหน่ง ขณะท่จำนวนรากฟนผุท่เพ่มข้น
                                                                                                            ึ
                                                                                                         ิ
                 (root caries increment) เปนการวัดจำนวนของดานของรากฟนท่ผุใหมในระยะเวลาท่สนใจ การวัดอุบัติการณ
                                                                                          ี
                                                                         ี
                                      ิ
                                    ี
                 และจำนวนรากฟนผุท่เพ่มข้นมักจะใชวัดในการศึกษาที่มีการติดตามผลในระยะยาว เชน การศึกษาในรูปแบบ
                                         ึ
                 cohort study หรือการศึกษาทางคลินิก (clinical trial) หรือการศึกษาเชิงทดลอง (experimental study)
                 การวัดอุบัติการณไมนิยมใชในการเปรียบเทียบระหวางกลุมเปาหมายเหมือนการวัดความชุก
                 2. Root decayed and filled root surfaces (RDFS) เปนการวัดขนาดของรากฟนผุโดยคำนวณจาก
                                                                                                       ื
                 ผลรวมของจำนวนดานของรากฟนที่ผุ (decayed) และจำนวนดานของรากฟนท่ไดรับการอุดแลวเน่องจากผ   ุ
                                                                                      ี
                                                                                             ี
                 (filled) เหมือนดัชนี DMFS ของสวนตัวฟนในการศึกษาระบาดวิทยามักจะรายงานคาเฉล่ยของดานรากฟนที่ผุ
                                                                                                         ั
                                                       ื
                 และรากฟนที่อุดในกลุมประชากรตางๆ เพ่อบงบอกถึงความรุนแรงของรอยโรคในกลุมประชากรน้นๆ
                                                                                                            (8)
                                                                                  ี
                                                          ึ
                                                      ี
                 ในบางการศึกษาใชการวัดขนาดรากฟนผุท่เพ่มข้นโดยใชคา RDFS ของวันท่ติดตามลบดวยคา RDFS ของวัน
                                                        ิ
                 ที่เริ่มตน (10)
                                                                            (11)
                 3. Root caries index (RCI) พัฒนาขึ้นโดย Katz ในป 1980  โดยปกติในการพิจารณารากฟนผ           ุ
                                                                                            ี
                 จะพิจารณาในฟนที่มีการรนของเหงือก ดัชนีน้เปนการวัดรอยละของจำนวนรากฟนท่ผุจากจำนวนรากฟน
                                                          ี
                  ั
                 ท้งหมดท่มีการรนของเหงือก ใชหลักการของฟนท่มีโอกาสเส่ยงตอการเกิดรากฟนผุ หากมีการเผยผ่งของรากฟน
                                                                                                   ึ
                                                                   ี
                                                          ี
                         ี
                                                                        ึ
                 วัดเปนสัดสวนของรากฟนผุตอจำนวนรากฟนท่เผยผ่งทั้งหมด ซ่งแตกตางจากหลักการคิดคาเฉล่ยผุ อุด ถอน
                                                              ึ
                                                         ี
                                                                                                   ี
                                                                                                           ึ
                         ี
                 (DMF) ท่ไมไดบงบอกโอกาสเสี่ยงตอโรคฟนผุ การรายงาน Root caries index (RCI) ไดกลายมาเปนหน่งใน
                                                         ี
                 มาตรฐานการวัดความชุกของรากฟนผุ ดัชนีน้ไดตรวจรากฟน 4 ดาน ไดแก ดานใกลกลาง ดานไกลกลาง
                 ดานแกม ดานลิ้น ทั้งฟนบน และฟนลาง



















                                                                                                               106           107
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114