Page 111 - Ebook
P. 111
ขอจำกัดของดัชนี RCI
1. อาจจะเกิดการประเมินความชุกที่ต่ำกวาความเปนจริงเนื่องจากดัชนีนี้ไมไดพิจารณารอยผุรากฟน
ใตเหงือก
2. ขาดความแมนยำในการวินิจฉัยการสูญเสียการยึดเกาะของเยื่อเกี่ยวพันกับผิวรากฟน ซึ่งตองอาศัย
เทคนิคในการวินิจฉัยทางโรคปริทันตมาประเมินสภาวะการสูญเสียการยึดเกาะของเยื่อเกี่ยวพันกับ
ผิวรากฟน
ี
3. ในบางกรณีที่มีโรคปริทันต อาจพบมีการสูญเสียการยึดเกาะของเย่อเก่ยวพันกับผิวรากฟนแตไมพบ
ื
ี
การรนของเหงือก (ลักษณะของโรคปริทันต) หรืออาจพบรอยผุรากฟนบริเวณท่มีเหงือกรนแตม ี
การอักเสบของเหงือกทำใหเงือกบวม ทำใหผลการตรวจคลาดเคลื่อนได
4. Root surface severity index พัฒนาโดย Billing และคณะ ในป 1985 ไดแบงระดับในการประเมิน
(12)
ความรุนแรงของรอยผุรากฟน โดยพบรอยผุในระยะเร่มแรกมักมีแนวโนมกระจายไปตามรอยตอของเคลือบฟน
ิ
และเคลือบรากฟน สวนรอยผุรากฟนท่รุนแรงมักจะผุเปนโพรงใกลโพรงประสาทฟน คลายรอยผุช้นเนื้อฟน
ี
ั
ของตัวฟน ดัชนีนี้ไดบอกระดับความรุนแรงของรอยผุรากฟน ดังนี้
ตารางที่ 24 รหัสในการบันทึกรากฟนผุโดยใช Root surface severity index (12)
รหัส คำอธิบายรหัสในการบันทึกรากฟนผุในระดับตางๆ
1 Incipient รอยผุรากฟนระยะเริ่มแรก เขี่ยดวย explorer แลวนิ่มหรือขรุขระ ไมมีการสูญเสีย
ผิวเคลือบรากฟน อาจเปลี่ยนสีเปนสีน้ำตาลหรือเหลืองออน
รอยผุแบบตื้น เขี่ยดวย explorer แลวนิ่มหรือขรุขระ มีการสูญเสียผิวเคลือบ
2 Shallow
รากฟนลึกนอยกวา 0.5 มม. รอยโรคอาจเปลี่ยนเปนสีน้ำตาลเขม
รอยผุเปนโพรง เขี่ยดวย explorer แลวนิ่ม รอยผุเปนโพรงลึกเขาไปในเนื้อฟน
3 Cavitation มากกวา 0.5 มม. แตไมพบรอยผุทะลุโพรงประสาทฟน รอยโรคอาจเปลี่ยนเปน
สีน้ำตาลเขม
Pulp
4 รอยผุทะลุโพรงประสาทฟน
involvement
หมายเหตุ หากมีหลายดานของรากฟน ใหประเมินดานของรากฟนท่รุนแรงท่สุด
ี
ี
108 109