Page 116 - Ebook
P. 116

6.  อาหารประเภทน้ำตาลท่สามารถเกิดการยอยสลายไดโดยแบคทีเรีย และผลิตกรดอินทรียตางๆ เชน
                                              ี
                           กรดฟอรมิก (formic acid) และกรดไพรูวิก (pyruvic acid) ทำใหเกิดการละลายของแรธาตุของฟน

                      7.  กลุมผูสูงอายุมักจะมีการสูญเสียฟน ทำใหตองใสฟนปลอม หากไมไดรับการดูแลรักษาความสะอาด

                           ของฟนปลอมถอดไดอยางถูกตอง อาจทำใหเกิดหมักหมมของเศษอาหารบริเวณใตฟนปลอมใกลกับ
                                                        ี
                                  ึ
                           รากฟน ซ่งเปนสาเหตุใหเกิดรอยผุท่รากฟนได
                                                                                ี
                                    ั
                                                                                                     ี
                      8.  สภาวะโดยท่วไปของกลุมผูสูงอายุ ไดแก ความสามารถในการบดเค้ยวอาหารลดลง สภาวะท่น้ำลายแหง
                                       ี
                           ทำใหมีความเส่ยงตอโรคฟนผุได (5, 7)




                          ขอความทายบท



                           • รากฟนผุ หมายถึง รอยผุท่บริเวณรากฟนต่ำกวารอยตอระหวางเคลือบฟนและเคลือบ
                                                    ี
                                                                                ี
                             รากฟน โดยสวนใหญเกิดจากการสูญเสียการยึดเกาะของเย่อเก่ยวพันกับผิวรากฟนบริเวณนั้น
                                                                             ื
                              ทำใหรากฟนโผลออกมาในชองปาก

                           • มักพบความสัมพันธกับอายุและสภาวะเหงือกรน

                           • พบความชุกของรากฟนผุในหลายๆประเทศ อยูในชวง รอยละ 25-100 สวนคาอุบัติการณ

                             การเกิดรากฟนผุตอป พบไดตั้งแตรอยละ 10.1 ถึง 40.6

                           • Root decayed and filled root surfaces (RDFS) และ Root caries index (RCI)

                             มักจะถูกรายงานรากฟนผุในการศึกษาทางระบาดวิทยา


                           • ปจจัยเสี่ยงของการเกิดรากฟนผุ เหมือนกับ ปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคฟนผุบริเวณตัวฟน
                                                                              ี
                             แตดวยโครงสรางของบริเวณผิวเคลือบรากฟน มีสวนท่เปนแรธาตุเพียงรอยละ 55%
                             ึ
                             ซ่งนอยกวาบริเวณผิวเคลือบตัวฟน (enamel) ท่มีมากถึงรอยละ 90 ทำใหผิวเคลือบรากฟน
                                                                     ี
                                               ู
                                     ี
                             เปนสวนท่งายตอการถกทำลาย

























 112  113
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121