Page 121 - Ebook
P. 121
ระบาดวิทยาของโรคปริทันตมีความสำคัญในการศึกษาวิจัย ซ่งนำไปสูการเปล่ยนแปลงความเขาใจพ้นฐาน
ึ
ี
ื
ี
ของโรคปริทันตในชวงศตวรรษ 1960 เราเขาใจแนวคิดโรคปริทันตเดิมวา 1) ประชากรทุกคนมีความเส่ยงตอการ
เปนโรคปริทันตรุนแรง 2) โรคเหงือกอักเสบสามารถพัฒนาเปนโรคปริทันตอักเสบโดยมีการสูญเสียของกระดูก
ี
ึ
ิ
ึ
ื
รอบรากฟนจนทำใหฟนโยกหลุดได และ 3) ความเส่ยงตอการเปนโรคปริทันตจะเพ่มมากข้นเม่ออายุเพิ่มข้น
และเปนสาเหตุหลักของการสูญเสียฟนหลังอายุ 35 ป ขึ้นไป
แนวคิดตอโรคปริทันตไดมีการศึกษาเพ่มเติมจนเปนความเขาใจใหมวา โรคปริทันตอักเสบอาจพบเปน
ิ
อาการแสดงหนึ่งของโรคทางระบบและมีความสัมพันธกับโรคตางๆ เชน เบาหวาน รวมท้งอาจมีสาเหตุอ่นๆ
ั
ื
ี
ท่ทำใหเกิดโรคปริทันตอักเสบ เชน การบาดเจ็บเหตุจากแรงสบฟน (traumatic occlusal forces) การสูบบุหร ี ่
นอกจากน้ เราจำเปนตองใชเคร่องช้วัดท่เปนมาตรฐานเดียวกันในการวัดการระบาดของโรค เพ่อเปรียบเทียบ
ี
ื
ี
ี
ื
สภาวะทันตสุขภาพของประชาชนหรือสภาวะการเกิดโรคในพ้นที่ตางๆ ได ตัวอยางเชน องคการอนามัยโลก
ื
(1)
ไดเสนอแนะใหใชดัชนีปริทันตชุมชน (Community Periodontal Index or CPI) สำหรับโรคปริทันต
ี
ี
ี
ดัชนีเหลาน้ใชเปนสากลท่วโลก ดังน้น จึงมีความจำเปนท่บุคลากรท่เก่ยวของกับงานทันตสาธารณสุขควรทราบไว
ั
ี
ั
ื
ิ
อันจะเปนประโยชนในการอานขอมูล เพ่อการประสานความรวมมือในการดำเนินงานตอไป โดยเฉพาะอยางย่ง
ในการดำเนินงานสงเสริมสุขภาพ ตามกลุมอายุ ซึ่งเปนนโยบายการดำเนินงานสาธารณสุขในปจจุบัน
การวัดและประเมินภาวะโรคปริทันต วัดไดโดย
ึ
ี
1. ความชุก ณ เวลาใดเวลาหน่ง (point prevalence rate) ซ่งบอกจำนวนผูปวยท่เปนโรคปริทันต
ึ
ณ เวลาที่สนใจศึกษา
2. ดัชนีชนิดตางๆ ซ่งจะสามารถใชเปรียบเทียบสภาวะของโรคในประชากรตางๆ ไดโดยใชหลักเกณฑ
ึ
และวิธีการเดียวกัน
ดัชนีการวัดสภาวะปริทันตในชุมชน (2)
ในการประเมินสภาวะปริทันต สามารถวัดไดหลายรูปแบบ เชน
1. การวัดความลึกของรองปริทันต
2. การวัดปริมาณและตำแหนงของคราบจุลินทรีย
3. การวัดการอักเสบของเหงือก
4. การวัดการสะสมของหินน้ำลาย
5. การวัดชนิดและปริมาณจุลินทรีย
6. การวัดการสูญเสียการยึดติดของเน้อเย่อยึดปริทันต
ื
ื
118