Page 123 - Ebook
P. 123
1. ดัชนีที่ใชประเมินสภาวะโรคเหงือกอักเสบ
โรคเหงือกอักเสบเปนสภาวะท่สามารถกลับคืนสูสภาพปกติได ลักษณะท่พบ พบไดต้งแตพบแผน
ี
(5)
ี
ั
ิ
ี
ั
คราบจุลินทรียตามขอบเหงือก มีการเปล่ยนแปลงของสีเหงือก เปลี่ยนแปลงรูปราง มีการเพ่มสารหล่งในรองเหงือก
(22)
ึ
ี
หรือมีเลือดออกภาพหลังการกระตุน ความรุนแรงของโรคเหงือกอักเสบข้นกับตำแหนงฟนท่พบและ
ลักษณะตัวบุคคล โรคเหงือกอักเสบพบไดบอยในเด็กและวัยรุน (23, 24) การวัดการเกิดโรคสามารถวัดไดท้งใน
ั
ี
รูปแบบปริมาณและคุณภาพ โดยใชดัชนีตางๆ ในบางดัชนีท่ใชประเมินสภาวะโรคเหงือกอักเสบ อาจใชเกณฑ
มากกวา 1 เกณฑในการประเมิน เชน สีของเหงือก รูปรางของเหงือก ภาวะเลือดออก การลอกของเหงือก
ื
ี
และการไหลของสารหลั่งในรองเหงือก ซึ่งการประเมินสภาวะเหลาน้ อาจใชการมองดวยตาเปลาหรือการใชเคร่องมือ
ั
หรือใชท้งสองอยางรวมกัน หลายๆ ดัชนีไดถูกนำเสนอดวยวิธีการตางๆ และยังไมมีดัชนีใดดัชนีหนึ่งท่ใชเปน
(25)
ี
มาตรฐานทั่วโลก ไดแก
1.1 Papillary Marginal Attachment Index (PMA)
พัฒนาโดย Schour and Massler ในป 1947 จัดเปนดัชนีแรกท่พัฒนาข้นมาเพ่อใชประเมินสภาวะเหงือก
ี
ื
ึ
(3)
ี
โดยมีการบันทึกสภาวะเหงือกอักเสบท่ฟนทุกซ่ (ในชวงแรกบันทึกเฉพาะฟนหนาลาง 6 ซ่) ในตำแหนงของเหงือก
ี
ี
เฉพาะดานริมฝปาก (labial surfaces) พิจารณาในสวนเหงือกสามเหล่ยมระหวางฟน (interdental papilla (P)),
ี
ขอบเหงือก (marginal gingiva (M)) และเหงือกยึด (attached gingiva (A)) และนำคะแนนแตละสวนมารวมกัน
เปนคา PMA score ของแตละบุคคล
แมวาดัชนีน้จะบันทึกงาย แตผลท่ไดจะข้นกับผูบันทึกและไมไดประเมินสภาวะโรคปริทันต ดังน้น
ึ
ี
ี
ั
ดัชนี PMA Index นี้จึงเหมาะที่จะใชในการประเมินสภาวะเหงือกอักเสบในเด็ก
Attached gingiva
Marginal gingiva
Interdental papilla
ี
ภาพ 75 ตำแหนงของเหงือกสามเหล่ยมระหวางฟน (interdental papilla) ขอบเหงือก (marginal gingiva)
และเหงือกยึด (attached gingiva)
120