Page 120 - Ebook
P. 120

บทที่ 5 ระบาดวิทยาของโรคปริทันต


                                                                             ี
                                       ี
                                                                                                        ั
               แนวคิดหลัก : ความเขาใจเก่ยวกับโรคปริทันต ดัชนีการตรวจ และปจจัยเส่ยงของการเกิดโรคปริทันต รวมท้งเลือก
               การวัดโรคเหงือกอักเสบและโรคปริทันตอักเสบไดอยางเหมาะสม
               __________________________________________________________________________________

               ความหมายและความสำคัญ


                       ปริทันต หมายถึง "โดยรอบฟน" ดังน้น โรคปริทันต จึงหมายถึงการติดเช้อและอักเสบของเหงือก เอ็นยึดปริทันต
                                                    ั
                                                                               ื
                                       ี
               เคลือบรากฟนหรือกระดูกท่อยูรอบฟน โดยมีความรุนแรงของโรคหลายระดับ ระยะแรกคือ โรคเหงือกอักเสบ

                                 ี
                       ื
                                           ั
                                               ื
               การติดเช้อจำกัดอยูท่เหงือกเทาน้น เม่อเหงือกอักเสบจะมีสีแดงและเลือดออก เหงือกอักเสบรักษาไดและสามารถ
               กลับคืนสูสภาพปกติได หากมีการติดเช้อลุกลามออกไป สามารถสงผลถึงเน้อเย่อและกระดูกโดยรอบซ่ฟน
                                                  ื
                                                                                                           ี
                                                                                      ื
                                                                                   ื
               เรียกวา โรคปริทันตอักเสบ ถาไมไดรับการรักษาอวัยวะตางๆ เหลาน้จะถูกทำลายไปอยางชาๆ จนตองสูญเสียฟน
                                                                         ี
                     ี
               ไปในท่สุด โรคน้ภาษาชาวบานเรียกวา โรครำมะนาด ทำใหเหงือกไมยึดกับฟน กระดูกรอบรากฟนถูกทำลาย
                             ี
               รากฟนโผล อาจมีอาการปวด บวม และในท่สุดอาจตองสูญเสียฟนหรือถอนฟนได โรคปริทันตอักเสบสงผล
                                                       ี
               รุนแรงกวามาก และอาจไมสามารถกลับสูสภาพปกติ การรักษาโรคปริทันตจะเปนเพียงการรักษาสภาพใหคงเดิม


               ไมใหเกิดการลุกลามเพิ่มขึ้น และการรักษาสวนใหญมักตองทำศัลยปริทันต



































                ภาพ 74 อวัยวะรอบฟน (periodontium) ไดแก เหงือก (gingiva) เอ็นยึดปริทันต (periodontal ligaments)

                                 เคลือบรากฟน (cementum) และกระดูกรอบฟน (alveolar bone)




      117
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125