Page 115 - Ebook
P. 115
ปจจัยท่มีความสัมพันธกับโรครากฟนผุในผูสูงอายุ ไดแก พฤติกรรมการดูแลสุขภาพชองปาก การใสฟนปลอม
ี
ี
เศรษฐานะ ระดับความรู พฤติกรรมการไปรับบริการทางทันตกรรม พฤติกรรมการสูบบุหร่ และการใชยารักษา
ื
ี
โรคทางรางกายหรือการไดรับการฉายรังสีรักษาโรคมะเร็งชองปากท่มีผลทำใหน้ำลายแหง ปากแหง สงผลตอเน้อเย่อ
ื
ฟนผุและรากฟนผุ นอกจากนี้ในคนท่มีประวัติฟนผุในสวนตัวฟนสูง มักจะพบฟนผุรากฟนสูงดวย จากขอมูล
ี
ั
ี
การสำรวจสภาวะชองปากคร้งท่ 8 พ.ศ.2560 พบวาผูสูงอายุแปรงฟนกอนเขานอนโดยไมรับประทานอาหาร
ื
ื
ี
ึ
ี
ื
หรือด่มเคร่องด่มใดๆ เพียงรอยละ 53.7 และไปรับบริการในปท่ผานมาเพียงรอยละ 38.6 ซ่งเหตุผลท่ไปสูงสุด
รอยละ 32.0 คือ รูสึกวามีอาการปวดหรือเสียวฟนเกิดขึ้นแลว การรักษาจึงเปนการถอนฟน การเก็บรักษาฟน
ื
ั
มีความยุงยากซับซอน หลายข้นตอนทำใหผูสูงอายุไมสามารถมารับบริการตอเน่องได ทำใหเกิดการสูญเสียฟน
ในที่สุด
ปจจัยเสี่ยงของการเกิดรอยผุรากฟน (7, 19)
ื
ี
1. การสูญเสียการยึดเกาะของเย่อเก่ยวพันซ่งพบไดในกลุมผูสูงอายุ โดยปกติเหงือกจะปกปองรากฟน
ึ
ื
หากมีการสูญเสียการยึดเกาะของเย่อเกี่ยวฟน ทำใหรากฟนโผลมาในชองปากซ่งเปนบริเวณท่งายตอการ
ี
ึ
ยึดเกาะของแบคทีเรีย นอกจากน้บริเวณรอยตอผิวเคลือบตัวฟนและผิวเคลือบรากฟน (cemen
ี
ี
toenamel junction) เปนบริเวณท่ขรุขระงายตอการสะสมของคราบจุลินทรียตามขอบเหงือก (20)
2. กลุมผูสูงอายุที่มีโรคประจำตัวหรือไดรับยาในการรักษาโรคบางชนิดที่มีผลทำใหอัตราการหลั่งของ
น้ำลายนอย (5)
ิ
ี
3. แบคทีเรียท่ผิวรากฟนบางชนิดสามารถสงเสริมกันเองในการเจริญเติบโตได โดยเพ่มภาวะความเปนกรด
ี
(acidogenic effect) มากข้นท่ผิวรากฟน เชน Lactobacillus acidophilus กับ Streptococcus
ึ
mutans, Actinomyces israelii กับ Lactobacillus acidophilus และ Actinomyces israelii
ั
กบ Lactobacillus acidophilus และ Streptococcus mutans แบคทีเรียทำการยอยน้ำตาล
(21)
และผลิตกรดอินทรียซ่งเปนสาเหตุของการเกิดการละลายแรธาตุของฟนโดยเกิดการกำจัดแคลเซียม
ึ
(calcium) และฟอสเฟต (phosphate) ออกจากผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต (hydroxyapatite)
ซึ่งเปนองคประกอบของฟน
ึ
4. บริเวณผิวเคลือบรากฟน (cementum) มีสวนที่เปนแรธาตุเพียงรอยละ 55% ซ่งนอยกวาบริเวณ
ผิวเคลือบตัวฟน (enamel) ท่มีมากถึงรอยละ 90 ทำใหผิวเคลือบรากฟนเปนสวนท่งายตอการ
ี
ี
ื
ถูกทำลาย เชน จากการขัดสีหรือจากสารตางๆ ท่มีความเปนกรดทำใหเกิดการเผยของเน้อฟน
ี
ซึ่งแบคทีเรียสามารถเขาสูทอเนื้อฟนได (22)
5. บริเวณผิวเคลือบรากฟนเกิดการละลายออกของแรธาตุหรือเกิดการผุไดงายกวาบริเวณผิวเคลือบตัวฟน
(23)
เน่องจากมีสวนประกอบของแมกนีเซียมและคารโบเนตท่สูง ทำใหความเปนกรดเบสวิกฤติ (critical pH)
ื
ี
ของผิวเคลือบฟนในการเกิดการละลายของแรธาตุ คือ 5.5 ในขณะที่บริเวณเคลือบรากฟน คือ 6.4 (22)
112 113