Page 127 - Ebook
P. 127
1.4 Sulcus Bleeding Index (SBI)
พัฒนาโดย Muhlemann and Son ในป 1971 โดยดูการมีเลือดออกเม่อตรวจดวยเคร่องมือตรวจ
(7)
ื
ื
ิ
ึ
ปริทันตซ่งเปนอาการเร่มตนของเหงือกอักเสบ เกณฑในการประเมิน ดังตารางท่ 32
ี
ตารางที่ 32 รหัสในการบันทึกโดยใช Sulcus Bleeding Index (SBI) (7)
รหัส คำอธิบายรหัสในการบันทึกในระดับตางๆ
เหงือกปกติ ทั้งขอบเหงือกและเหงือกระหวางซี่ฟน ไมมีเลือดออกเมื่อตรวจดวย
0
เครื่องมือตรวจปริทันต (no bleeding on probing)
ื
ื
1 เหงือกปกติ แตมีเลือดออกเม่อตรวจดวยเคร่องมือตรวจปริทันต (bleeding on probing)
มีเลือดออกภายหลังจากตรวจดวยเคร่องมือตรวจปริทันต (bleeding on probing)
ื
2
ื
ี
มีการเปล่ยนแปลงของสีเหงือก เน่องจากการอักเสบ แตไมมีการบวม
ื
มีเลือดออกภายหลังจากตรวจดวยเคร่องมือตรวจปริทันต (bleeding on probing)
3
มีการเปล่ยนแปลงของสีเหงือก มีการบวมเล็กนอย
ี
มีเลือดออกภายหลังจากตรวจดวยเคร่องมือตรวจปริทันต (bleeding on probing)
ื
4
ี
มีการเปล่ยนแปลงของสีเหงือก มีการบวมอยางชัดเจน
มีเลือดออกเอง (spontaneous bleeding) มีการเปลี่ยนแปลงของสีเหงือก
5
มีการบวมอยางชัดเจน
1.5 Gingival Bleeding Index (GBI)
พัฒนาโดย Ainamo & Bay ในป 1975 ดัชนีที่บอกภาวะเลือดออกของเหงือกภายหลังการ probe
(8)
ภายใน 10 วินาที ถาพบตำแหนงท่เลือดออก ใหนับตำแหนงท่พบและรายงานเปนเปอรเซ็นตท่พบตำแหนงท่เลือดออก
ี
ี
ี
ี
ี
ี
การพบตำแหนงท่เลือดออกจะใชเปนสิ่งกระตุนใหผูปวยดูแลสุขภาพชองปากใหดีข้น ดัชนีน้ใชกับการศึกษา
ึ
ทางคลินิกระยะส้น
ั
124