Page 131 - Ebook
P. 131

1.11 Modified Gingival Index (MGI)

                       ดัชนี Modified Gingival Index (MGI) ถูกปรับปรุงโดย Lobene และคณะ  ในป 1986 จากดัชน     ี
                                                                                         (14)
                                                                        ื
               ของ Gingival index (Löe and Silness, 1963) โดยไมมีการใชเคร่องมือตรวจปริทันต และจัดการใหคะแนนใหม
               สำหรับการอักเสบระดับเล็กนอยถึงปานกลาง


                 ตารางที่ 37 รหัสในการบันทึกโดยใช Modified Gingival Index (MGI) (14)

                   รหัส                          คำอธิบายรหัสในการบันทึกในระดับตางๆ


                     0        เหงือกปกติ ไมมีการอักเสบ



                              เหงือกอักเสบเล็กนอย: มีการเปลี่ยนแปลงสีและรูปรางเล็กนอย แตไมทั้งหมดของ
                     1
                              ขอบเหงือกและเหงือกระหวางฟน




                                                                                             ั
                                                           ี
                              เหงือกอักเสบเล็กนอย: มีการเปล่ยนแปลงสีและรูปรางและมีการอักเสบท้งหมดของ
                     2
                              ท้งขอบเหงือกและเหงือกระหวางฟน
                               ั
                                                            ี
                              เหงือกอักเสบปานกลาง: มีการเปล่ยนแปลงสี บวมและมีการอักเสบปานกลาง
                     3
                               ั
                              ท้งขอบเหงือกและเหงือกระหวางฟน

                              เหงือกอักเสบมาก: ขอบเหงือกและเหงือกระหวางฟนมีอาการอักเสบรุนแรง
                     4
                              และอาจมีเลือดออกเองหรือมีแผล


                       การคิดคะแนนเหมือนดัชนี Gingival Index (GI)


                      1.12 Bleeding on Interdental Brushing Index (BOIB)

                       การวัดสภาวะเหงือกอักเสบโดยประเมินเลือดออกภายหลังการตรวจดวยเครื่องมือปริทันตน้น
                                                                                                            ั
                                              ื
                                                                 ื
               อาจจะมีปจจัยในเรื่องมุมในการใสเคร่องมือ ความลึกของเคร่องมือ ทิศทางและการเคล่อนเคร่องมือหรือน้ำหนักแรง
                                                                                            ื
                                                                                      ื
               ของการใสเคร่องมือ รวมถึงรูปรางและความแข็งของการใชเครื่องมือท่ทำความสะอาดซอกฟนที่ทำจากไม
                                                                              ี
                            ื
                                                                        (15)
               อาจสงผลทำใหเกิดการบาดเจ็บของเหงือกได ดังน้น Hofer และคณะ  จึงพัฒนาดัชนี Bleeding on Interdental
                                                        ั
                                        ึ
               Brushing Index (BOIB) ข้นมา โดยดัชนีน้ไดใชวิธีใสแปรงซอกฟนดานกระพุงแกม ใตจุดติดตอระหวางฟน
                                                     ี
               (contact point) อยางเบาๆ โดยไมใสแรง แลววัดการมีเลือดออกภายหลังการใส 30 วินาที ผูคิดคนดัชนีนี้ได
                                                                                 ิ
               อธิบายขอดีวางายในการทำ ไมทำใหบาดเจ็บตอเหงือกระหวางซอกฟน เปนส่งกระตุนคนไขในการใหคำแนะนำ
               ในการดูแลสุขภาพชองปากดวยตัวเองและยังเปนการกำจัดคราบจุลินทรียระหวางซอกฟนดวย









                                                                                                               128
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136