Page 55 - Ebook
P. 55

ขอดีของดัชนี PUFA

                           1. งายตอการบันทึก


                           2. ใชบันทึกลักษณะทางคลินิกไดท้งฟนแทและฟนน้ำนม
                                                            ั
                           3. เปนประโยชนในการประเมินการใหบริการทางทันตกรรม


                                                                                ื
                                         ี
                           (ประเมินฟนท่ยังไมไดรับการรักษาหรือตองการถอนเน่องจากปวด)
                  ขอจำกัดของดัชนี PUFA

                           1. ไมมีการประเมินฟนผุในระยะตางๆ

                           2. การประเมินการบวมหนอง (abscess) และรูเปดทางหนองไหล (sinus tract) อาจสับสน

                               ทำใหพิจารณาเปนรหัสเดียวกันได

                                                             ี
                                     ี
                           3. ความเท่ยงและความตรงของดัชนีน้ยังตองการรับรองจากงานวิจัย
               7. International Caries Detection and Assessment System (ICDAS)                            (17)


                      องคการอนามัยโลกแนะนำการใชดัชนี DMF ในการสำรวจสภาวะสุขภาพชองปากมาเปนระยะเวลานาน

               ซ่งดัชนี DMF ใหรหัสฟนผุ เม่อฟนผุมีรูในช้นเน้อฟน ในปจจุบันความเขาใจการเกิดฟนผุ ไดเปล่ยนแปลงไป
                                                         ื
                                                     ั
                                         ื
                 ึ
                                                                                                   ี
                                                        ิ
                                                                                                             ึ
               ตาม medical model การวินิจฉัยรอยผุในระยะเร่มแรกที่ยังไมเปนรู (non-cavitated lesion)  ก็มีความจำเปนมากข้น
               เพราะหากมีการปองกันรอยผุในระยะเร่มแรกท่ยังไมเปนรูจะทำใหรอยโรคในระยะเริ่มแรกหยุดย้งหรือ
                                                    ิ
                                                                                                        ั
                                                           ี
               มีการคืนกลับแรธาตุ ซ่งเปนการลดความรุนแรงของโรคฟนผุไมใหดำเนินไปอยางรวดเร็ว และลดคาใชจาย
                                   ึ
                                                       ิ
                                                             ี
                               ั
               ในการบูรณะ ดังน้น การพิจารณารอยผุระยะเร่มแรกท่ไมเปนรู (non-cavitated lesion) มีประโยชนในการนำมา
               ใชในกลุมประชากรท่มีความชุกต่ำ หรือมีอัตราการดำเนินโรคต่ำ ดังนั้น ในป 2001 กลุมนักวิจัย นักระบาดวิทยา
                                 ี
               และทนตแพทยเฉพาะทางดานทนตกรรมบูรณะไดรวมกันกำหนดดัชนีใหม ช่อวา International Caries
                     ั
                                                                                      ื
                                               ั
                                                             (17)
                                                                   ื
               Detection and Assessment System (ICDAS)  เพ่อตอบโจทยในการวินิจฉัยรอยผุในระยะเร่มแรก
                                                                                                        ิ
                  ิ
                                                                            ึ
                                                                ี
               เพ่มคุณภาพในการวินิจฉัยและการทำนายโรค ดัชนีน้ไดถูกพัฒนาข้นมาสำหรับการศึกษาวิจัยทางคลินิก
               และทางระบาดวิทยา โดยมี 6 ระดับ ตามความรุนแรง เร่มต้งแตรอยผุในระยะเร่มแรกจนถึงรอยผุแบบลุกลาม
                                                                   ั
                                                                                    ิ
                                                                ิ
               ในป 2005 นักวิจัยและผูเช่ยวชาญไดจัดประชุม ICDAS คร้งที่ 2 เพ่อปรับปรุงเกณฑจากคร้งแรก จากการประชุม
                                                                                            ั
                                      ี
                                                                 ั
                                                                        ื
                  ั
                    ี
               คร้งน้ไดแบงการประเมินฟนผุในสวนตัวฟนแยกจากสวนรากฟนและเพ่มการประเมินการดำเนินของโรค
                                                                                ิ
                                                     ื
                                                                ุ
                                                        ุ
               ในลักษณะรอยผุแบบลุกลาม (active) หรอผแบบไมลกลาม (inactive)      (18)

                                                                                                                52
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60