Page 50 - Ebook
P. 50

4. Nyvad caries diagnosis           (13, 14)



                      พัฒนาขึ้นโดย Nyvad ในป 1999 (14)   มีหลักการเดียวกับดัชนี Dental caries severity classification


                                                   ื
                                                                                                  ั
               จะเนนไปที่การดำเนินไปของโรคฟนผุเพ่อหวังผลจากประสิทธิภาพของฟลูออไรดในการหยุดย้งกระบวนการ
               เกิดฟนผุและสามารถสงเสริมกระบวนการคืนกลับแรธาตุได  ดัชนีนี้มีการระบุความแตกตางระหวางฟนผ  ุ

                                                                                             ั
                                                            ั
                                                                                                   ั
               แบบลุกลาม (active caries) และฟนผุแบบหยุดย้ง (inactive caries) ประเมินรอยผุต้งแตท้งรอยผุไมมีร  ู
                                                                                ั
               (non-cavitated caries) จนถึงรอยผุแบบมีรู (cavitated caries) ในช้นเน้อฟน
                                                                                   ื
                      ดัชนีน้ไดแบงเปน 3 กลุมใหญๆ ไดแก กลุมฟนปกติ กลุมฟนท่มีรอยโรค และกลุมฟนที่ไดรับการอุดแลว
                                                                           ี
                            ี
                              ี
                                               ี
                 ึ
               ซ่งในกลุมฟนท่มีรอยโรคและฟนท่ไดรับการอุดแลวแตมีรอยผุเพ่ม จะแบงยอยเปนรอยผุแบบลุกลาม
                                                                            ิ
                                                  ั
               (active caries)  และรอยผุแบบหยุดย้ง (inactive caries) การประเมินระดับการวินิจฉัยตางๆ จะมีผลตอ
                                                              ี
               การวางแผนการรักษาตางๆ กัน รอยผุแบบลุกลามท่ไมมีรู (active non-cavitated lesions) มีความเส่ยง
                                                                                                            ี
                                                                                ี
                                                                              ั
               ในการเกิดรอยผุแบบมีรู (cavitated caries) มากกวารอยผุแบบหยุดย้งท่ไมมีรู (inactive non-cavitated
               lesions) ซึ่งตองใหคำแนะนำในการดูแลรักษามากกวา



                      ตารางที่ 5 รหัสบันทึกการตรวจฟน ของ Nyvad  (13)

                           รหัส                   คำอธิบายรหัสบันทึกการตรวจฟนของ Nyvad

                    0    Sound           ภาพ 30 ฟนปกติไมพบรอยผุหรืออุด









                    1 Active caries      ภาพ 31 ผิวของเคลือบฟนมีสีขาว หรือน้ำตาล
                        (intact surface)   อาจพบลักษณะขรุขระเมื่อใช probe ลาก
                                         ไมพบการสูญเสียของเคลือบฟน


                    2   Active caries    ภาพ 32 ผิวของเคลือบฟนมีสีขาว หรือน้ำตาล
                        (surface         พบความผิดปกติที่ผิวเคลือบฟนเฉพาะตำแหนง
                        discontinuity)   อาจมีรูผุเล็กๆในชั้นเคลือบฟน เขี่ยดวย explorer ไมนิ่ม



                    3   Active caries    ภาพ 33 พบรอยผุเปนรูในชั้นเคลือบฟน
                        (cavity)         หรือชั้นเนื้อฟน เห็นไดดวยตาเปลา เขี่ยนิ่ม
                                         อาจทะลุหรือไมทะลุโพรงประสาทฟน








       47
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55