Page 46 - Ebook
P. 46

ขอดีของดัชนี DMFS


                           1. ใชเวลาในการตรวจนาน

                                                                                                ี
                                       ี
                                                            ื
                           2. คาความเท่ยงในการตรวจลดลง เน่องจากมีจำนวนดานในการตรวจมาก คาท่ไดจะมีชวงกวาง
                               ทำใหคาเบ่ยงเบนมาตรฐานของกลุมสูง
                                        ี
               การคำนวณคาดัชนี DMFS


                                                                         ี
                   คาเฉล่ย DMFS รายบุคคล       = ผลรวมของจำนวนดานฟนท่ผุ + ดานฟนท่อุดเน่องจากฟนผ  ุ
                         ี
                                                                                      ี
                                                                                           ื
                                                            + ดานฟนท่ถอนเน่องจากฟนผ
                                                                            ุ
                                                                  ื
                                                           ี
                   (หนวยเปน ดาน)             = DS + MS + FS
                        ี
                   คาเฉล่ย DMFS กลุมประชากร  =  ผลรวมของ DMFS รายบุคคล
                   (หนวยเปน ดานตอคน)                     จํานวนตัวอยาง


                                                                                                   ี
                           ั
                                                                                                    ี
                       ดังน้น  คะแนนของ DMFS จึงอยูในระหวาง 0 ถึง 148 ดาน (หากนับฟนกรามแทซ่ท่สาม) และ
               0 ถึง 128 ดาน (หากไมนับฟนกรามแทซ่ที่สาม) สวนคาเฉล่ย DMFS ของกลุมประชากรสามารถมีทศนิยมได
                                                  ี
                                                                 ี
               การประยุกตใชดัชนี DMFT และ ดัชนี DMFS

                      สำหรับดัชนี DMFT และ DMFS ในบางกรณีอาจพิจารณาเฉพาะฟนท่ผุ (decayed) และฟนท่ไดรับ
                                                                                    ี
                                                                                                         ี
                                                                                                      ี
                                                   ั
               การอุดแลวเน่องจากฟนผุ (filled) เทาน้น ในดัชนี DF ถึงแมดัชนี DF อาจจะทำใหไดผลการวัดท่นอยกวา
                            ื
                          ื
                                                                                                      ี
               เปนจริง เน่องจากไมนำฟนที่ถอน (missing) มาคิด แตก็สามารถลดอคติ (bias) จากการนับฟนท่ถอนโดย
               ไมใชจากฟนผุได เชน ฟนที่ถูกถอนไปจากโรคปริทันต หรือถอนเพื่อการจัดฟน
                      ในบางกรณีใชการคิดสัดสวน ฟนผุจากจำนวนฟนผุ ถอน อุดทั้งหมด (D/DMF) เพ่อพิจารณา
                                                                                                    ื
                                                                    ี
                                                                                ั
                                                                                         ื
               สัดสวนฟนท่ผุและยังไมไดรับการรักษาจากจำนวนฟนท่ผุ อุด ถอนท้งหมด เพ่อประยุกตใชในชุมชน
                           ี
               หรือบางกรณีมีการปรับใหน้ำหนักกับรหัสฟนท่อุด (F) มากกวากวารหัสฟนผุ (D) หรือฟนท่ถอน (M)
                                                           ี
                                                                                                     ี
                                                                                          (7)
                                                                    ื
                                                ื
                  ื
               เพ่อใชในบางวัตถุประสงค เชน เพ่อเปนการพิจารณาเร่องสุขภาวะมากกวาโรค  ไดแก ดัชนี FS-T
                                           (8)
               (filled and sound tooth)  โดยการนับจำนวนฟนท่ปกติและฟนที่ไดรับการอุดแลวเพ่อประเมิน
                                                                                                    ื
                                                                    ี
                                                                                          (9)
                                  ี
               สภาวะการทำหนาท่ของฟนในชองปาก หรือดัชนี T-Health (Tissue Health)  โดยการใหน้ำหนัก
                                                               (10)
                                                                                                            ั
                                       ี
               กับฟนที่ปกติมากกวาฟนท่อุด และฟนท่ผุ ตามลำดับ เพ่อบงบอกวาในบุคคลนั้นหรือกลุมประชากรน้น
                                                                    ื
                                                   ี
               มีสุขภาวะเชนไร ฟนที่ผุไดรับการบูรณะหรือไม
       43
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51