Page 94 - Ebook
P. 94
ภาวะฟนตกกระ คือ ภาวะท่ฟนมี permanent hypomineralization และมีเน้อฟนรูพรุน
ี
(28)
ื
ึ
(subsurface porosity) เกิดจากการไดรับฟลูออไรดมากเกินขนาดขณะท่สรางเน้อฟน ซ่งอาจเกิดจากการ
ื
ี
บริโภคปริมาณฟลูออไรดมากเกินขนาด (จากน้ำดื่ม อาหาร ยาสีฟน วิตามินรวม) หรือจากการไดรับฟลูออไรด
ี
ี
ั
ี
เสริมตามท่ทันตแพทยส่งจาย โดยมีการศึกษาท่ยืนยันวาการไดรับฟลูออไรดเสริมเปนสาเหตุท่ทำใหเกิด
ภาวะฟนตกกระระดับนอยถึงปานกลาง
การสรางเน้อฟนในระยะกอนฟนข้นจะมีระยะ enamel maturation ซ่งจะมีการสะสมแรธาต ุ
ื
ึ
ึ
(mineralization) และสูญเสีย secreted matrix protein การมีปริมาณฟลูออไรดมากเกินไปในระยะน ้ ี
จะรบกวนการสะสมแรธาตุ และ matrix protein ยังคงอยู ไมสลายไป (28)
ปริมาณฟลูออไรดท่สูงมากเกินไป สามารถมีผลกระทบตอกระบวนการสรางฟนไดทุกระยะ มีการศึกษา
ี
ี
พบวาระยะวิกฤต (critical period) ท่จะเกิดภาวะฟนตกกระในฟนตัดบน (Maxillary incisor)
เร่มตนท่อายุประมาณ 22 เดือน
(28)
ิ
ี
ภาวะฟนตกกระจะมีความรุนแรงตามความเขมขนของฟลูออไรดที่ไดรับ (Dose-response condition)
(28)
โดยในคนท่ไดรับฟลูออไรดปริมาณมากในระยะวิกฤต จะแสดงอาการรุนแรงกวาคนท่ไดรับฟลูออไรด
ี
ี
ในปริมาณที่นอยกวา ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีปริมาณฟลูออไรดสูงในธรรมชาติ ดังในภาพที่ 65
การเฝาระวังภาวะฟนตกกระในประเทศไทย
ประเทศไทยโดยกลุมพัฒนาการคุมครองผูบริโภคดานทันตสุขภาพ สำนักทันตสาธารณสุขตรวจ
ี
ระดับฟลูออไรดในน้ำบริโภค ในป 2538 ดังแสดงในภาพท่ 66 และตารางท่ 21 และในปงบประมาณ 2551-2552
ี
ี
จำแนกดังแสดงในรูปภาพท่ 67 (ขอมูล ณ วันท่ 15 มีนาคม 2553) และไดจำแนกระดับฟลูออไรดในน้ำบริโภคท่มี
ี
ี
ี
ความเส่ยงทำใหเกิดฟนตกกระดังน ้ ี
1. น้ำบริโภคที่มีฟลูออไรด 0.1-0.7 มิลลิกรัมตอลิตร เปนน้ำที่ผานมาตรฐาน
2. น้ำบริโภคที่มีฟลูออไรด 0.8-1.9 มิลลิกรัมตอลิตร มีความเสี่ยงปานกลางตอฟนตกกระ
3. น้ำบริโภคที่มีฟลูออไรด 2.0-3.9 มิลลิกรัมตอลิตร มีความเสี่ยงสูงตอฟนตกกระรุนแรง
ี
4. น้ำบริโภคท่มีฟลูออไรด ต้งแต 4 มิลลิกรัมตอลิตรข้นไป มีความเส่ยงสูงสุด เพราะอาจมีผลให
ึ
ี
ั
เกิดความเปนพิษที่กระดูกและโรคทางระบบอื่นๆ
91