Page 84 - Ebook
P. 84

การศึกษาความชุกของความผิดปกติของช้นผิวเคลือบฟนมี 2 แบบ ดังนี้ 1) นับจำนวนคนท่ม        ี
                                                              ั
                                                                                                            ี
                                                                                                 ั
                                ั
               ความผิดปกติของช้นผิวเคลือบฟน (แมเพียง 1 ซ่) หรือ 2) นับจำนวนฟนที่มีความผิดปกติของช้นผิวเคลือบฟน
                                                         ี
                                                                                           ึ
                                                                             ั
                                               ี
                      ี
               ตารางท่ 17 เปนการสรุปผลการศึกษาเก่ยวกับความชุกของความผิดปกติของช้นผิวเคลือบฟน ซ่งมีความหลากหลายมาก
                 ื
               เน่องจากการใชคำจำกัดความหรือการใชเกณฑแตกตางกัน แตสวนใหญก็ไมพบวามีความแตกตางกันระหวางเพศ
               และในพื้นที่ที่มีปริมาณฟลูออไรดสูงก็จะพบความผิดปกติของชั้นผิวเคลือบฟนมาก

               สาเหตุของความผิดปกติของชั้นผิวเคลือบฟน

               (Etiology of Developmental Defects of Enamel)


                       การแสดงออกทางคลินิกท่แตกตางกันอาจมาจากสาเหตุท่ตางกัน กระบวนการทางพยาธิวิทยาท่ตางกัน
                                                                        ี
                                                                                                        ี
                                             ี
                                                                                                         ี
                               ี
                        ั
                                                                      ั
               หรือโรคน้นเกิดท่ระยะเวลาของการสรางฟนแตกตางกัน ดังน้น แมวาเราจะทราบสาเหตุสวนใหญท่ทำให
                                                                               ื
                                                                      ี
               เกิดความผิดปกติของฟนแตจะบอกสาเหตุของความผิดปกติน้ไดยาก เน่องจากอาการแสดงท่คลายคลึงกัน
                                                                                                  ี
               อาจเกิดจากสาเหตุที่แตกตางกันได ในทางกลับกันสาเหตุเดียวกันอาจทำใหเกิดอาการแสดงท่ตางกันได
                                                                                                     ี
               ถากระทำที่ระยะเวลาการสรางฟนที่แตกตางกัน (1)
                       ผิวเคลือบฟนท่มีความทึบแสงผิดปกติ (opacity) รูปรางผิดปกติ (hypoplasia) และสีผิดปกต   ิ
                                     ี
               (Discoloration) อาจเกิดจากหลายสาเหตุ โดยอาจมาจากสาเหตุทางระบบ (systemic causes) หรือสาเหตุเฉพาะท  ่ ี


               (Local causes) ก็ได ผิวเคลือบฟนผิดปกติจะแสดงลักษณะแตกตางกัน  และสามารถเกิดไดท้งในฟนแท
                                                                                                    ั
                                                                               (18)
               และฟนน้ำนม ดังนี้



                       1. สาเหตุทางระบบ (systemic causes) อาจเกิดจาก


                               สาเหตุทางพันธุกรรม (Amelogenesis imperfecta, Trisomy 21)

                               โรคหัวใจผิดปกติแตกำเนิด

                               ความผิดปกติแตกำเนิดเกี่ยวกับเมตาโบลิซึม (Galactosaemia, Phenylketonuria)

                               โรคติดเชื้อ (Rubella, Syphilis, Tetanus)

                               ความผิดปกติของตอมไรทอ (Hypoparathyroidism, Diabetes)

                               โรคไต

                               โรคตับ

                               ยาหรือสารพิษ (Tetracycline, Thalidomide, Vitamin D, Chronic lead poisoning)









       81
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89