Page 192 - Ebook
P. 192

Perceived barriers of ECC
                  4.                                                 16-20                  0.693
                       prevention



                 5.   Self-efficacy                                   21-24                  0.775



                                   Total                              1-24                  0.848







               การตรวจสอบและปรับความถูกตองของการสำรวจ (calibration)

                       Calibration (การสอบเทียบ) คือ การตรวจสอบและปรับความถูกตองของการวัด เปรียบเทียบกับ


                                             ื
               มาตรฐานอางอิง (standard) เพ่อใหแนใจวา กระบวนการ/วิธีการน้จะมีมาตรฐาน เพื่อใหมีความถูกตอง
                                                                             ี
               (validity) แมนยา (precision) เชื่อถือได (reliability)

                                                                                     ี
                       ในการสำรวจโรคในชองปากอาจพบขอผิดพลาด และความคลาดเคล่อนท่สามารถเกิดข้นไดในการตรวจ
                                                                                                ึ
                                                                                ื
                                                                                                       ื
                                                                          ั
                   ั
               ดังน้นจึงมีความจำเปนตองดำเนินการใหแนใจวาผลการตรวจน้นมีความแมนยำ ถูกตองและเช่อถือได
                                                                      ื
                                                                                                   ี
                                                                            ั
               นอกจากนี้ผูสำรวจแตละคนยอมมีประสบการณและปจจัยอ่นๆ ท้งดานรางกายและจิตใจท่แตกตางกัน
               จากเหตุผลที่กลาวมานี้ จึงทำใหตองมีการปรับมาตรฐานกอนสำรวจโดยมีวัตถุประสงค ดังนี้

                                                                                                 ี
                       1.      เพื่อผูสำรวจสามารถเขาใจ ตีความ และนำเกณฑการวัดสภาวะโรคตางๆ ท่อยูในแผนการ
                               สำรวจไปใชไดตรงกันรวมทั้งเกณฑการสัมภาษณ (ถามี)


                       2.      เพื่อใหผูสำรวจแตละทีมสามารถสำรวจไดคงที่ตรงตามเกณฑที่กำหนดทุกครั้ง

                       3.      เพื่อลดความแตกตางของผลการสำรวจระหวางผูสำรวจแตละคน


               การปรับมาตรฐานมี 2 แบบ ไดแก


                                                                     ื
                       1. การตรวจสอบและปรับความถูกตองภายในตัวเคร่องมือ (intra-calibration) เปนการตรวจสอบ
               เพื่อใหมั่นใจวา มีความเที่ยง (validity) แมนยา (precision) เชื่อถือได (reliability)


                                                                                    ื
                       การปรับมาตรฐานในผูตรวจคนเดียว (intra-examiner calibration) เม่อการสำรวจกระทำโดยผูตรวจ
               คนเดียว ความคงท่ของการตรวจสามารถตรวจสอบโดยการตรวจตัวอยางประมาณ 10-20 คน ทำซ้ำ 2 คร้ง
                                                                                                            ั
                                ี
                                                                                         ี
               ตัวอยางทั้ง 10-20 คนน้ ควรคัดเลือกจากคนท่มีสภาวะในชองปากครอบคลุมดัชนีท่เราจะใชในการตรวจให
                                     ี
                                                        ี
                    ี
               มากท่สุด เม่อตรวจครบ 2 คร้ง แลวจึงนำผลการตรวจมาประเมินความสอดคลอง หากผลการตรวจสอดคลองกัน
                                        ั
                          ื
      189
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197