Page 194 - Ebook
P. 194
3.1.1 รอยละของความเหมือน (percent agreement)
เกณฑที่ยอมรับคือ รอยละ 80 ขึ้นไป
3.1.2 คาแคปปา (Kappa)
ผลการตรวจซ้ำควรสอดคลองกันไมนอยกวารอยละ 80
3.2 ความเหมือนของการตรวจโดยผูตรวจตั้งแต 2 คน (inter-examiner calibration) มี 2 วิธี คือ
3.2.1 เปรียบเทียบ % agreement ของผูตรวจแตละคนกับ gold standard ทำนองเดียวกับ
ขอ 3.1.1
3.2.2 เปรียบเทียบ % agreement ของผูตรวจคราวละ 2 คน ทำนองเดียวกับขอ 3.1.2
4. ขอแนะนำ
ี
4.1 การปรับมาตรฐานผูสำรวจเปนขบวนการที่สำคัญ และตองใชเวลา โดยเฉพาะผูท่ไมมีประสบการณ
ั
ื
ในการสำรวจดังน้น ในการวางแผนการสำรวจ ควรกำหนดระยะเวลาสำหรับเร่องนี้ไวดวย อยางนอย 2-3 อาทิตย
4.2 ผูสำรวจทุกคน (ผูตรวจ ผูสัมภาษณ ผูจดบันทึก ฯลฯ) ควรไดรับการอบรม หรือทำความเขาใจ
ี
ี
ี
ดานทฤษฎีทุกหัวขอ เพราะอาจจำเปนตองผลัดเปล่ยนหนาท่กันในระหวางการสำรวจจริง (ยกเวนผูตรวจหามเปล่ยน)
และยังมีประโยชนในการชวยกันตรวจสอบขอมูลและลงรหัสขอมูลในลาดับตอไป
ื
4.3 ควรมีการจัดทำบันทึกสรุปชวยจำสำหรับผูตรวจและผูจดบันทึก เพ่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน
ไมตองเปดดูจากคูมือทุกครั้ง
4.4 ควรมีการแตงต้งเลขานุการของโครงการสำรวจ ทำหนาท่บันทึกรายละเอียดตางๆ ไวเปนลายลักษณ
ี
ั
ั
อักษรท่ชัดเจน ตลอดทุกข้นตอนของโครงการฯ แมวาผูสำรวจทุกคนจะไดรับการปรับมาตรฐานจนตรงกันตาม
ี
ั
เกณฑแลวก็ตาม ยังมีโอกาสเกิดความแตกตางกันไดจากสาเหตุอ่นๆ อีก ดังน้นในการลงมือสำรวจจริง ควรให
ื
ผูตรวจแตละคนไดสำรวจทุกกลุมอายุในจำนวนที่ใกลเคียงกัน
191