Page 193 - Ebook
P. 193
ี
ต่ำกวาเกณฑท่กำหนด ผูตรวจจะตองศึกษาหลักเกณฑการวินิจฉัยใหมและทำซ้ำจนกวาผลการตรวจ
สอดคลองกันไมต่ำกวาเกณฑที่กำหนด โดยทั่วไปผลการตรวจซ้ำควรสอดคลองกันไมนอยกวารอยละ 80
ื
2. การตรวจสอบและปรับความถูกตองระหวางเคร่องมือ (inter-calibration) เปนการตรวจสอบ
ั
และปรับความถูกตองของเครื่องมือวัดน้นกับเคร่องมืออ่นๆ รวมทั้งมาตรฐานอางอิง ตัวอยางเชน การ calibrate
ื
ื
ครูใหตรวจความสะอาดของการแปรงฟนในเด็กประถมศึกษาปที่ 1 ไดอยางถูกตอง โดยใชดัชนีวัดความสะอาด
ของฟนที่โรงเรียน โดยมีมาตรฐานอางอิงคือ ทันตแพทย (ในที่นี้เรียก gold standard) โดยจำลอง
สถานการณใหเหมือนกับการปฏิบัติงานจริงมากที่สุด
การปรับมาตรฐานในระหวางผูตรวจ (inter-examiner calibration) ใหผูตรวจทุกคนตรวจตัวอยาง
ชุดเดียวกันประมาณ 20 คนและประเมินความสอดคลองของผลการตรวจหากไดผลสอดคลองไมถึงรอยละ 80
จะตองตรวจตัวอยางเดิมเพื่ออภิปรายหาขอสรุปกันในกลุมผูตรวจ หากมีผูตรวจคนใดใหผลการตรวจแตกตาง
ี
จากกลุมมาก ควรใหฝกปฏิบัติซ้ำใหมจนกวาจะไดผลตรงกันตามท่เกณฑกำหนด หากยังไมสามารถปรับได
ควรถูกคัดออกจากทีมสำรวจ แมวาผูสำรวจทุกคนจะไดรับการปรับมาตรฐานจนตรงกันตามเกณฑแลวก็ตาม
ยังมีโอกาสเกิดความแตกตางกันไดจากสาเหตุอ่นๆ อีก ดังนั้นในการลงมือสำรวจจริง ควรใหผูตรวจแตละคน
ื
ไดสำรวจทุกกลุมอายุในจำนวนที่ใกลเคียงกัน
การเตรียมตัวในการดำเนินการ
1. การเตรียมตัวดานวิชาการ
1.1 ศึกษาดัชนีทุกดัชนีท่ใชจากคูมือ ใหเขาใจวัตถุประสงค เกณฑการตรวจ และความหมายของรหัสตางๆ
ี
ื
ี
ี
ี
ท่ใชโดยละเอียด หากมีขอสงสัยควรสอบถามเพ่อใหไดขอสรุปท่ชัดเจนตรงกัน นอกจากน้ ถามีการตกลงเรื่องใด
เพิ่มเติมจากคูมือ ตองบันทึกไวเปนลายลักษณอักษรทุกครั้ง
1.2 ศึกษาวิธีการลงรหัสในแบบตรวจ ไดแก การตรวจสอบความเปนไปไดของรหัส ลำดับกอนหลัง
ของการลงรหัส การเขียนตัวเลขตัวอักษรใหชัดเจน เปนตน
2. การฝกปฏิบัติ
3. คำนวณ
3.1 ความเหมือนของการตรวจซ้ำ (agreement) โดยผูตรวจคนเดียวกัน (intra examination
calibration) มี 2 วิธี คือ
190