Page 37 - Ebook
P. 37

แนวคิดโรคฟนผุในปจจุบันเปนโรคท่เกิดจากหพุปจจัย จากปฏิกิริยาบนผิวฟน โดยท่ไบโอฟลม
                                                                                                    ี
                                                        ี
                           ึ
               (biofilm) ซ่งหมายถึงกลุมของแบคทีเรียที่เกาะติดอยูกับผิวฟนเผาผลาญอาหารประเภทน้ำตาล
               ใหกลายเปนกรด หากผิวฟนอยูในสภาวะเปนกรดนานก็จะทำใหเกิดการสูญเสียแรธาตุ แตหากมีปจจัยท่ทำให
                                                                                                         ี
               สภาวะความเปนกรดลดลงก็จะทำใหเกิดการคืนกลับของแรธาตุ ดังนั้น สมดุลของโรคฟนผุ (caries balance)

                              ี
                                                  ี
                                                                                                   ี
               เกิดจากการเปล่ยนแปลงของปจจัยท่ทำใหเกิดโรค (pathological factors) และปจจัยท่ปองกันโรค
               (protective factors) ดังภาพ 6


                                Protective factors                      Pathological factors
                                   Salivary flow                           Reduced saliva
                                   Fluorirde exposure                      Bacteria
                                   Dietary components                      Frequency of
                                                                           fermentable
                                                                           carbohydrates









                                     No Caries                                Caries




                                           ภาพ 6 สมดุลของโรคฟนผุ (caries balance)

                           ที่มา: David PC and Connie CM. Prevention in clinical oral health care.

                                                   Missouri: Mosby; 2008.


                                            ึ
                                                                                                          ี
                                                         ี
                                                ื
                     ขบวนการทำลายจะเกิดข้นเม่อปจจัยท่ทำใหเกิดโรคมากกวาปจจัยปองกัน หากขบวนการน้เกิด
                                                              ึ
               ตอเน่องโดยไมมีการตรวจพบ รอยโรคฟนผุจะเกิดข้นและดำเนินตอไป ดังนั้นการประเมินความเส่ยงและ
                                                                                                       ี
                    ื
                                                ิ
               วางแผนใหทันตกรรมปองกัน เปนส่งสำคัญในการท่จะลดการดำเนินไปของโรคฟนผุ หากปจจัยปองกัน
                                                              ี
               ไดแก อัตราการหลั่งของน้ำลาย ฟลูออไรดท่ไดรับมีมากพอ ก็จะทำใหเกิดกระบวนการคืนกลับของแรธาต ุ
                                                       ี
               ในบริเวณท่เร่มมีรอยโรคระยะแรก แนวโนมในปจจุบันของการลดโรคฟนผุ เปล่ยนจากหลักการ “surgical
                          ี
                                                                                     ี
                           ิ
                                                               ี
                                                         ื
                                       ี
               model” หรือ “รูปแบบท่ใชการอุดฟนแทนเน้อฟนท่มีการสูญเสียไป” มาเปน “medical model” หรือ
               “รูปแบบทางการแพทย” ซ่งจะพิจารณาปจจัยแวดลอมของผูปวยประกอบในการใหการรักษาและ
                                          ึ
                                          ี
               การปองกัน เนนการลดปจจัยเส่ยงของโรคฟนผุ รักษาสมดุลของการเกิดโรค เชน การใชฟลูออไรดรูปแบบตางๆ
                         ั
               เพ่อหยุดย้งรอยผุและเนนกระบวนการคืนกลับของแรธาตุแทนการกรออุดฟนอยางเดียว นอกจากน            ี ้
                  ื
               ความเขาใจโรคฟนผุในสมัยใหมจะพิจารณาถึงปจจัยส่งแวดลอมของบุคคลนั้นดวย ไดแก ปจจัยดานพฤติกรรม
                                                             ิ
               ปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม

                                                                                                                34
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42