Page 33 - Ebook
P. 33
ขอความทายบท
• ระบาดวิทยาในชองปาก (oral epidemiology) เปนการศึกษาธรรมชาติของการเกิดโรค
ในชองปาก ซ่งประกอบดวยการศึกษาการกระจาย (distribution) ของโรค และ ปจจัยกำหนด
ึ
ี
ี
(determinants) ท่เก่ยวของกับการเกิดโรคในชองปากในประชากรหรือกลุมคน
ี
• การวิจัยทางระบาดวิทยาแตกตางจากการวิจัยทางคลินิก ตรงท่การวิจัยทางคลินิกเนนการศึกษา
เฉพาะรายบุคคล รักษาและปองกันผูปวยแตละรายใหหายและกลับมามีชีวิตท่เปนปกติสุข
ี
แตการวิจัยทางระบาดวิทยาเปนการศึกษาในกลุมประชากรท่ปวยและไมปวย เนนการปองกัน
ี
ใหกลุมประชากรมีสุขภาพดี ไมใหเจ็บปวย
• การวัดขนาดของโรคในชองปากท่นิยมใช ไดแก จำนวนนับ (counts) ความชุก (prevalence)
ี
สัดสวนอุบัติการณ (incidence proportion) และดัชนี (index)
• การเลือกชนิดของการศึกษาทางระบาดวิทยาควรสอดคลองกับวัตถุประสงคของการศึกษา
เปนส่งสำคัญและตองทำดวยความระมัดระวัง ควรเขาใจถึงขอดีขอเสียของการศึกษาแตละชนิด
ิ
เอกสารอางอิง
1. Stevens RB. Plant Pathology, an Advanced Treatise: Academic Press, NY; 1960.
2. Centers for Disease Control Prevention. Principles of epidemiology in public health
practice: an introduction to applied epidemiology and biostatistics. Atlanta, GA: US
Dept. of Health and Human Services, Centers for Disease; 2006.
3. National Institute of Dental and Craniofacial Research. The story of fluoride 2018
[Available from: https://www.nidcr.nih.gov/health-info/fluoride/the-story-of-fluoridation.
4. Interdepartment Committee on Nutrition for National Defense (ICNND). Kingdom of
Thailand: Nutrition Survey. Washington: Government Printing Office; 1962.
5. Ministry of Public Health. Report of the first National Oral Health Survey 1967:
Dental Public Health section, Department of Health, Ministry of Public Health.;1969.
6. World Health Organization. Oral health surveys: basic methods: World Health
Organization; 2013.
30