Page 29 - Ebook
P. 29
ื
เปนตน ตัวอยางเชน การวิเคราะหเชิงพรรณนาสถานการณการระบาดโรคติดเช้อไวรัสโคโรนา 2019
(11)
ในสถานบันเทิงของไทย หรือ การสำรวจสุขภาพชองปากของนักโทษในเรือนจำ (12)
4. การศึกษาเฝาระวัง (surveillance) เปนศึกษาแบบตัดขวางของกระบวนการเก็บขอมูล การวิเคราะห
ั
และการแปลผลของสถานการณอยางตอเน่องเปนระบบ เพ่อศึกษาแนวโนมของปญหาสุขภาพน้นๆ และใชใน
ื
ื
ั
ิ
การวางแผน ปฏิบัติการ และประเมินกิจกรรมทางดานสาธารณสุข รวมท้งมีการเพ่มคุณภาพของกิจกรรมตางๆ
ดวยกิจกรรมหลักของการเฝาระวัง ไดแก การเก็บขอมูล (data collection) การวิเคราะหขอมูล
(data analysis) การเผยแพรขอมูล (dissemination of data and information) ตัวอยางเชน การเฝาระวัง
ื
การติดเช้อวัณโรคของบุคลากรในทีมสุขภาพโรงพยาบาล รามาธิบดีเพ่อการวินิจฉัยโรคเบ้องตน
ื
ื
และการปองกันวัณโรคในบุคลากร (13)
การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา ชวยเปนพ้นฐานในการสรางสมมติฐานเก่ยวกับสาเหตุของโรค
ี
ื
ี
ไดขอมูลท่เปนประโยชนในการวางแผนและการประเมินผลอนามัยชุมชน และเปนประโยชนกับฝายบริหาร
ี
ี
ในการทราบถึงลักษณะและขนาดของปญหาท่มีอยู การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาอาจเก่ยวกับลักษณะผูปวย
ี
ท่มีผลนาสนใจ หรือศึกษาสาเหตุหรือปจจัยตางๆ ท่นาสนใจ ซ่งมีขั้นตอนการวางแผนและดำเนินการศึกษา
ึ
ี
ดังตอไปน (10)
้
ี
1. การกำหนดปญหา และวัตถุประสงค ควรมีการกำหนดปญหาใหชัดเจนกอนท่จะวางแผนการศึกษา
ี
ปญหาในเชิงพรรณนามักเกี่ยวกับการกระจายของโรค ลักษณะทางสุขภาพอนามัย และปจจัยตางๆ ท่เก่ยวของ
ี
ี
กับบุคคล สถานท่ และเวลา ปญหาอาจมาจากความสนใจของผูศึกษา ประสบการณของผูศึกษา และของผูอ่น
ื
ี
และตองกำหนดวัตถุประสงคใหชัดเจนวาจะทำอะไรบาง กับใคร ที่ไหน และระยะเวลานานเทาใด
2. การกำหนดกลุมประชากรศึกษา จะตองกำหนดกลุมประชากรที่ศึกษาวาจะใชประชากรท้งหมด
ั
ทุกกลุมอายุ ทุกอำเภอ ทุกจังหวัด หรือเฉพาะภาคใดภาคหนึ่ง ทั้งนี้ขึ้นกับวาจะนำผลการศึกษามาใชสรุป หรือ
อางอิงมากนอยเพียงใด หากศึกษาในประชากรจำนวนมากและศึกษาในทุกคนก็จะตองเสียเวลา คาใชจายมาก
ี
และตองใชกำลังคนมาก การใชตัวอยางท่เปนตัวแทนของประชากรจะชวยใหไดผลดี และประหยัดทรัพยากร
ไดมาก ตัวอยางที่ดีควรมีขนาดเพียงพอ เปนตัวแทนที่ดี และเชื่อถือได
ื
ี
3. ตัวแปรท่ศึกษา ในการศึกษาเชิงพรรณนา ตัวแปรท่สำคัญ ไดแก บุคคล เชน อายุ เพศ เช้อชาต ิ
ี
อาชีพ การศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม เปนตน สถานท่ เชน จังหวัดและภาคตางๆ เขตเมือง
ี
ี
และเขตชนบท เขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล เปนตน เวลา เชน ฤดูกาลตางๆ การเปล่ยนแปลงในชวง
ระยะเวลาตางๆ ของป ควรจะกำหนดนิยาม ลักษณะของตัวแปร และเกณฑท่ใชในการวัดตัวแปรท่ศึกษา
ี
ี
ในขั้นตอนนี้ดวย
ั
4. รูปแบบการศึกษา อาจเปนการศึกษาแบบสำรวจระยะส้น ณ จุดเวลาใดเวลาหน่ง หรือการ
ึ
ื
ั
สำรวจระยะยาว โดยการสำรวจหลายคร้งในระยะเวลาตางๆ เพ่อศึกษาผูปวยใหม หรือเหตุการณใหม
26