Page 27 - Ebook
P. 27
2. การแบงตามลักษณะประชากรที่ศึกษา (study population)
ั
2.1 ประชากรท่วไป (general population)
2.2 ประชากรพิเศษ (special population) เชน กลุมเช้อชาติ (ethnic group), กลุมอาชีพ
ื
(occupational group)
3. การแบงตามเทคนิคที่ใชศึกษา (study technique)
3.1 การตรวจหลายคร้ง (serial examination), การตรวจคร้งเดียว (single examination)
ั
ั
3.2 การสัมภาษณ (interview), การสอบถามทางโทรศัพท (Telephone), การสงแบบสอบถาม
ทางไปรษณีย (mail questionnaire)
4. การแบงตามลักษณะการศึกษา (nature of study)
4.1 การศึกษาเชิงสังเกต (observational studies)
4.1.1 การศึกษาเชิงพรรณนา (descriptive studies)
4.1.2 การศึกษาเชิงวิเคราะห (analytical studies)
4.2 การศึกษาเชิงทดลอง (experimental studies)
ึ
การศึกษาทางระบาดวิทยา นิยมแบงตามลักษณะการศึกษา ซ่งแบงออกไดเปน 3 ชนิดใหญๆ
ดังนี้
1. การศึกษาเชิงพรรณนา (descriptive study)
ี
เปนการศึกษาเก่ยวกับรูปแบบ (pattern) ขนาด (Magnitude) และการกระจาย (distribution) ของ
ั
ี
ปจจัยกำหนด (determinants) ท่เกี่ยวของกับปรากฎการณ หรือการเกิดโรค หรือปญหาสุขภาพน้นๆ
(health-related events) ในประชากร (population) ตามลักษณะของบุคคล (person) สถานท ่ ี
(place) และเวลา (time)
ี
บุคคล (person) พรรณนาลักษณะของบุคคลท่เกิดโรคหรือปญหา กระจายตามเพศ อายุ เช้อชาต ิ
ื
ั
ี
สถานภาพสมรส อาชีพ การศึกษา เปนตน เพ่อใหไดภาพของบุคคลท่เกิดปญหาสุขภาพน้นไดอยางชัดเจน
ื
สถานที่ (place) พรรณนาลักษณะที่เกี่ยวของกับสถานที่ในการเกิดปญหาสุขภาพ
เวลา (time) พรรณนาการเกิดปญหาสุขภาพหรือโรค กระจายตามวัน เวลา ฤดูกาล เดือน ป เทศกาล
เปนตน
ี
การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาไมไดมุงท่จะตอบคำถามเพื่อวิเคราะหหาสาเหตุหรือปจจัย
ี
ี
กำหนดของโรค แตเปนการบรรยายจากขอมูลตัวแปรท่มีอยู (existing data) โดยไมเก่ยวของกับการพิสูจน
ความเปนเหตุและผล และการพิสูจนสมมติฐานใดๆ และมักเปนการศึกษาท่ไมมีกลุมควบคุม (control group)
ี
24