Page 25 - Ebook
P. 25

ี
                        อุบัติการณสะสม หรือ สัดสวนอุบัติการณ เปนดัชนีท่ใชวัดในประชากรปดที่มีความเส่ยงตอการเกิดโรค
                                                                   ี
                  ในระยะเริ่มตน ไมมีการเคลื่อนยายเขาหรือยายออกของประชากรในชวงระยะเวลาที่ศึกษาหรือติดตามผล

                                                               ี
                                                                          ื
                  เพราะจะทำใหคาของดัชนีไมเปนไปตามความจริง คาน้ไมมีหนวยเน่องจากเปนคาสัดสวน คาจะอยูในชวง 0-1
               3. อัตรา (Rates)


                       เปนการเปรียบเทียบจำนวนความถี่ของโรคหรือเหตุการณที่เกิดขึ้นตอหนวยประชากรที่ไดเฝาสังเกต
                               ี
                                                                                                         ี
               ในชวงระยะเวลาท่กำหนด เชน อัตราตายของทารก (infant mortality rate) ไดแก จำนวนเด็กทารกท่ตาย
               ภายในปแรกของชีวิตตอจำนวนเด็กเกิดมีชีพ 1,000 คน
                                                                                     ี
                       อัตรา (rates) ถูกนำมาใชนอยในการวัดโรคในชองปาก จะใชในกรณีท่วัดอุบัติการณของโรคฟนผุ

                                               ี
               (caries incidence) ในระยะเวลาท่ศึกษาทางคลินิก อัตราอุบัติการณ (incidence rate or Person-time
               rate or incidence density)  หมายถึง จำนวนผูปวยใหมท่เกิดข้นตอหนวยประชากรท่เฝาสังเกตในชวง
                                                                                              ี
                                                                          ึ
                                                                     ี
                                                                                 ึ
               ระยะเวลาที่กำหนด เปนมาตรการวัดโดยมีจำนวนผูปวยใหมท้งหมดที่เกิดข้นเปนตัวเศษและระยะเวลารวม
                                                                      ั
                       ี
                                                                                                      ี
                 ั
               ท้งหมดท่เฝาสังเกตในแตละบุคคลเปนตัวหาร หรือ ใชจำนวนประชากรกลางปเปนตัวหารแทน อัตราน้ไดขอมูล
               จากการศึกษาประชากรระยะยาว ติดตามเฝาสังเกตแตละคนตามจำนวนบุคคล-เวลาทั้งหมด ทำการศึกษาไดท้ง  ั
               ในประชากรปดหรือประชากรเปดโดยมีการยายเขาหรือยายออกได คาน้มีหนวยเปน จำนวนตอบุคคล-ป
                                                                                ี

               คาจะอยูในชวง 0-infinity


               4. ดัชนี (Index)

                       ใชในการบันทึกการมีอยูของโรค (presence) และความรุนแรงของโรค (severity) ซ่งเปนสเกล
                                                                                                   ึ
               บอกระดับของโรคจากต่ำสุดไปสูงสุด คะแนนของดัชนีตางๆ จะมีหลักในการประเมินเฉพาะแตละดัชน         ี

                ึ
                                                               ี
               ซ่งอาจรายงานเปนคะแนนรายบุคคลหรือเปนคาเฉล่ยของประชากรได หรืออาจใชเปรียบเทียบระหวาง
                                           ี
               บุคคลหรือกลุมคนได นอกจากน้ คะแนนของดัชนี อาจเปนคาทศนิยมได เชน คา plaque index เทากับ 1.2

                         สวนใหญดัชนีในทางระบาดวิทยาในชองปากมักจะใหขอมูลเปนมาตราเรียงจัดลำดับ (ordinal scale)

                                                                                  ี
               ซ่งจะดีกวามาตรานามบัญญัติ (nominal scale) บางดัชนีใชประเมินโรคท่เปล่ยนแปลงกลับได (reversible)
                                                                               ี
                ึ
                                                    ี
                                                       ี
               เชน โรคเหงือกอักเสบ หรือ ใชประเมินโรคท่เปล่ยนแปลงกลับไมได (irreversible) เชน โรคฟนผุ หรือ การสูญเสีย
                    ื
                 ื
               เน้อเย่อ














                                                                                                                22
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30