Page 21 - Ebook
P. 21

ั
               2 ขอ ไดแก การเกิดฟนตกกระเกิดจากการพัฒนาของช้นเคลือบฟนที่ไมสมบูรณในเด็ก และฟนที่มีลักษณะส ี

                                                                   ั
               น้ำตาลเหลานี้จะตานทานการเกิดฟนผุไดดี หลังจากน้นในป ค.ศ.1923 ไดเกิดทฤษฎีสาเหตุจากน้ำ
               (water-causation theory) โดย Dr. Frederick McKay สังเกตวา หลังจากมีการสรางระบบน้ำประปา


                                                                ี
               ในแหลงชุมชน ผูคนในเมืองด่มน้ำจากแหลงน้ำเดียวกันน้เปนประจำ และนักเคมีไดนำตัวอยางน้ำในแหลงน้ำน ี ้
                                        ื
                                                                ี
               ไปวิเคราะห พบวามีระดับฟลูออไรดสูงจากแหลงน้ำน้ ทำให Dr. Frederick McKay คนพบสาเหตุของ
               ลักษณะฟนสีน้ำตาลนี้วามาจากปริมาณฟลูออไรดที่สูงมาก จึงเปนจุดกำเนิดของระบาดวิทยาในชองปาก
                                                                                                         (3)
                                                                                          ั
                                                                                      ิ
                         สำหรับการศึกษาวิทยาการระบาดของโรคในชองปากของประเทศไทยเร่มคร้งแรกในป พ.ศ.2503     (4)
               โดยเปนสวนหน่งของการสำรวจสภาวะโภชนาการ ซ่งศึกษาในประชากรบางกลุมเทาน้น และไดรายงาน
                                                                                             ั
                              ึ
                                                               ึ
               วามีอัตราชุกของโรคฟนผุต่ำมาก แตโรคปริทันตมีอัตราชุกสูงมาก โดยเฉพาะอยางย่งในวัยผูใหญ สวนการ
                                                                                          ิ
                                                                        ี
               สำรวจสุขภาพชองปากของประชากรไทยที่มีการเลือกตัวอยางท่เปนตัวอยางท่เปนตัวแทนของประเทศน้น
                                                                                                            ั
                                                                                     ี
               กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขไดดำเนินการครั้งแรกในป พ.ศ. 2520 โดยความชวยเหลือ
                                           ั
               ขององคการอนามัยโลก  จากน้นกองทันตสาธารณสุขก็ไดดำเนินการสำรวจสุขภาพชองปากของประชากรไทย
                                    (5)
                                                               ั
                 ั
               ท้งประเทศเปนระยะ ทุก 5 ป โดยใชดัชนีที่ใชเปนสากลท่วโลกและใชเปนมาตรฐานเดียวกันในการวัดการระบาด
                                                                                                  ี
               ของโรค  เพ่อเปรียบเทียบสภาวะทันตสุขภาพของประชาชน หรือ สภาวะการเกิดโรคในพ้นท่ตางๆ รวมถึง
                           ื
                                                                                               ื
                      (6)
               อาจใชเปรียบเทียบกับประเทศอ่นในโลกได ซึ่งในป พ.ศ.2560 เปนการสำรวจสุขภาพชองปากของประเทศ
                                            ื
                  ั
                                                                              ื
               คร้งท่ 8  การมีขอมูลวิทยาการระบาดของโรคในชองปากอยางตอเน่องมานี้ ทำใหกระทรวงสาธารณสุข
                    ี
                       (7)
               สามารถกำหนดเปาหมายสุขภาพชองปากของประเทศ และวางแผนกำลังบุคลากรทางทันตแพทยเพื่อ
                                                                            ั
                                ี
                                              ี
                                                                   ี
               ใหบรรลุเปาหมายท่กำหนด ไวโดยท่เปาหมายและแผนงานท่กำหนดไวน้น สอดคลองกับขนาดและความรุนแรง
               ของปญหา และขยายการบริการทันตสาธารณสุขใหครอบคลุมท่วถึงโดยเฉพาะในเขตชนบท        (8)
                                                                      ั
                    
                จุดมุงหมายของการศึกษาระบาดวิทยาของโรคในชองปาก มีดังนี้ คือ
                1. ศึกษาความชุก (prevalence) และการกระจาย (distribution) ของโรคในชองปากของชุมชนและ

                   และปจจัยที่มีอิทธิพลตอการกระจายของโรคในชองปากในชุมชนและกลุมเปาหมายเฉพาะ

                2. ศึกษาปจจัยเสี่ยง (risk factors) และสาเหตุของโรคในชองปาก (etiologic agent)

                3. ศึกษาปจจัยกำหนด (determinants) ที่มีความสำคัญ ของการระบาดของโรคในชองปาก

                4. ศึกษาถึงแนวทางการปองกันและควบคุมโรคในชองปาก















                                                                                                                18
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26