Page 16 - Ebook
P. 16

บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยาของโรคในชองปาก


               แนวคิดหลัก : ระบาดวิทยาของโรคในชองปากเปนศาสตรท่สำคัญสำหรับการดำเนินงานทางดานทันตสาธารณสุข
                                                                 ี
               __________________________________________________________________________________


               นิยามและหลักคิดสำคัญทางระบาดวิทยาของโรคในชองปาก

                       ระบาดวิทยาในชองปาก (oral epidemiology) เปนการศึกษาธรรมชาติของการเกิดโรคในชองปาก

                 ึ
                                                                                                     ี
               ซ่งประกอบดวยการศึกษาการกระจาย (distribution) ของโรค และปจจัยกำหนด (determinants) ท่เก่ยวของ
                                                                                                       ี
                                                                                                     ี
               กับการเกิดโรคในชองปากในประชากรหรือกลุมคน ตามลักษณะของบุคคล (person) สถานท่ (place)
               และเวลา (time) ซ่งการวิจัยทางระบาดวิทยาแตกตางจากการวิจัยทางคลินิก ตรงท่การวิจัยทางคลินิก
                                 ึ
                                                                                            ี
               เนนการศึกษาเฉพาะรายบุคคล รักษาและปองกันผูปวยแตละรายใหหายและกลับมามีชีวิตท่เปนปกติสุข
                                                                                                   ี
               แตการวิจัยทางระบาดวิทยาเปนการศึกษาในกลุมประชากรท่ปวยและไมปวย เนนการปองกันใหกลุม
                                                                        ี
               ประชากรมีสุขภาพดี ไมใหเจ็บปวย เม่อเกิดการเจ็บปวยก็พยายามปองกันไมใหมีการแพรระบาดในวงกวาง
                                                 ื
                                                                 ี
               และเกิดผลกระทบตอการดำเนินชีวิตของสังคมใหนอยท่สุด ดังนั้นระบาดวิทยาจึงกลายเปนศาสตรที่สำคัญ
               สำหรับการดำเนินงานทางดานทันตสาธารณสุข ผูท่ทำงานทางดานทันตสาธารณสุขทุกคนจึงควรเรียนรู
                                                              ี
               ระบาดวิทยา

                                   ี
                            ในบทน้จะขอสรุปหลักคิดสำคัญทางระบาดวิทยาของโรคใหพอเขาใจดังน          ้ ี

               1. โรคหรือปญหาทางดานสุขภาพไมไดเกิดดวยความบังเอิญ แตเกิดจากการเสียสมดุลขององคประกอบ

                   ของโรค (determinants) ซ่งทางระบาดวิทยามักจะแบงปจจัยออกเปน 3 กลุม คือ ปจจัยท่เก่ยวของกับ
                                           ึ
                                                                                                  ี
                                                                                                    ี
                                                                                   ี
                   ตัวใหอาศัย (host) ปจจัยท่เก่ยวของกับส่งกอโรค (agent) และ ปจจัยท่เก่ยวของกับสภาวะแวดลอม
                                                        ิ
                                           ี
                                                                                     ี
                                             ี
                                                                 ี
                                                      ั
                   (environment) เรียกความสัมพันธของท้งสามปจจัยน้วา “ปจจัยสามทางระบาดวิทยา” (epidemiologic
                            ึ
                        (1)
                   triad)  ซ่งถูกวาดครั้งแรกโดย Stevens ดังภาพ 1
                                                          Host






                                                         disease



                                        Agent                             Environment


                                    ภาพ 1 ปจจัยสามทางระบาดวิทยา (epidemiologic triad)
               ท่มา: Stevens, R.B., Plant Pathology, an Advanced Treatise. Vol. 3. 1960: Academic Press, NY.
                 ี



       13
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21