Page 19 - Ebook
P. 19

3.3   ระยะแสดงอาการของโรค (stage of clinical disease) ระยะน้ agent ไดทำใหเกิดพยาธิสภาพของโรค
                                                                              ี
                                                            ี
                             ี
                                    ี
                             มการเปล่ยนแปลงลักษณะและหนาท่ของสวนตางๆ ของรางกาย จนรางกายไมสามารถทำงาน
                                                                                                            ั
                                                                                            ึ
                                                                        ิ
                             ไดตามปกติและเกิดอาการแสดงของการเจ็บปวยเร่มตน และคอยๆมากข้นจนมีอาการเต็มข้น
                             เปนระยะท่ผูปวยจะมาพบแพทย เชน ผูปวยโรคฟนผุ มีอาการปวดฟน ปริทันต ฟนโยก มีหนองใน
                                     ี
                             บางตำแหนง เรียกระยะนี้วา symptomatic disease
                      3.4   ระยะสิ้นสุดของโรค (diminish stage) เมื่อเกิดโรคแลว แตละคนจะมีการตอบสนองของโรค

                             แตกตางกันไป เชน บางคนหายโรค (recovery) โดยรางกายมีกระบวนการกำจัดเช้อหรือส่งกอโรค
                                                                                                       ิ
                                                                                                 ื
                                   ี
                             ในขณะท่บางคนหายโรคแตมีความพิการ เสียสมรรถภาพการทำงานของอวัยวะนั้น (disability)
                                                                                      ึ
                             บางคนตาย (death) ในเวลาไมนาน บางคนอยูรอด เปนระยะเวลาหน่งแตจะไปเสียชีวิตในอนาคต
                                                                                       ื
                                   ี
                             เชน ฟนท่ผุไดรับการอุดฟนหรือรักษารากฟนแลว มีกระบวนการกำจัดเช้อออกแลว ไมมีอาการปวด


               4. ปญหาสุขภาพของประชาชนสามารถปองกันและควบคุมได แบงเปน 4 ระดับงายๆ ดังน   ี ้


                      4.1   การปองกันกอนปฐมภูมิ (primordial prevention) หรือการสรางเสริมสุขภาพ (health
                                                                      ี
                            promotion) เปนการปองกันไมใหมีปจจัยเส่ยงหรือองคประกอบท่เอ้อใหเกิดโรค เชน
                                                                                           ี
                                                                                              ื
                             การรณรงคใหประชาชนบริโภคเครื่องด่มท่มีน้ำตาลต่ำเพ่อจะไดไมเส่ยงตอโรคฟนผุ เปนการปองกัน
                                                            ื
                                                                                    ี
                                                                          ื
                                                               ี
                            โดยการลดความเส่ยง (risk reduction) มาตรการหลักในการปองกันกอนปฐมภูมิมักจะ
                                             ี
                             ทำในระดับประชากรหรือมหภาค
                      4.2   การปองกันปฐมภูมิ (primary prevention) เปนการปองกันกอนเกิดโรค (prepathogenesis

                             phase) หรือ ในทางระบาดวิทยา เปนมาตรการปองกันโดยการลดการปวยรายใหม (incidence

                             reduction) มาตรการในระดับนี้ ไดแก

                             - มาตรการปองกันเฉพาะโรค (specific health protection) เชน การปองกันโรคฟนผุโดย

                             การเคลือบหลุมรองฟน การขัดฟนเพื่อกำจัดแผนคราบจุลินทรีย (oral prophylaxis) และ
                                                             ็
                             การเคลือบฟลูออไรดเพือทำใหฟนแขงแรง
                                                 ่
                                                                                          ื
                                                                                                             ี
                           -  มาตรการสรางเสริมสุขภาพ (health promotion) เชน การใหความรูในเร่องการแปรงฟนที่ถูกวิธ
                                                                                              ื
                                              ี
                              การจัดโซนอาหารท่น้ำตาลนอยในสหกรณโรงเรียน การปรับสูตรน้ำตาลในเคร่องด่มใหหวานนอย
                                                                                                 ื
                      4.3   การปองกันทุติยภูมิ (secondary prevention) เปนการปองกันในคนท่มีการดำเนินของโรคแลว
                                                                                        ี
                                          ื
                                                                                              ื
                             หรือปวยแลว เพ่อปองกันไมใหเกิดอาการรุนแรงหรือเสียชีวิต จุดมุงหมายเพ่อคนหาผูปวยและ
                             ตรวจใหพบในระยะแรกๆ และรีบใหการรักษา (early detection and prompt treatment)

                              ื
                             เพ่อจะไดชะลอการปวยออกไป หรือไมใหปวยมาก หรือลดระยะเวลาการปวย หรือลดการเสียชีวิต




                                                                                                                16
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24