Page 20 - Ebook
P. 20

ในทางระบาดวิทยาเปนการลดความชุกของการปวย (prevalence reduction) เชน การตรวจ

                           เอกซเรยฟนผุดานประชิด (bitewing x-ray for proximal caries) หรือ การอุดดวยวัสดุสีเหมือนฟน

                           และเคลือบหลุมรองฟนทับ (preventive resin restoration) เพื่อปองกันฟนผุตอไป

                                                                                        ี
                      4.4   การปองกันตติยภูมิ (tertiary prevention) เปนการปองกันในคนท่ปวยจนเกิดความพิการ
                             และการสูญเสียคุณภาพชีวิต ก็จะใชมาตรการเพ่อฟนฟูสภาพ (rehabilitation) ใหมีคุณภาพชีวิต
                                                                    ื
                              ท่ดีข้น ในทางระบาดวิทยา เปนการลดความพิการ (disability reduction) เชน การใชอุปกรณ
                             ี
                                ึ
                              ชวยตางๆ รวมทั้งการฟนฟูทางดานจิตใจแกผูปวยพิการ หรือ ในทางระบาดวิทยาชองปาก เชน

                             การใสฟนปลอมสำหรับผูปวยที่ถอนฟนไปทำใหเคี้ยวอาหารลำบาก


                         สำหรับบุคลากรทางการทันตกรรมควรดำเนินการปองกันโรคในทุกระดับ แตในบรรดาการปองกันโรค


               ท้ง 4 ระดับ มาตรการปองกันโรคในระดับ primodial และ primary prevention จะไดประโยชนมากท่สุด
                 ั
                                                                                                           ี
               เปนการลดปจจัยเส่ยงและปองกันกอนการเกิดโรค เน่องจากเรามีผูปวยจำนวนมาก แตมีบุคลากรไมเพียงพอตอ
                                                             ื
                                ี
               จำนวนผูปวย หากเราละเลยการปองกันในระดับ primodial และ primary prevention และมุงไปที่การทำ
                                                    ึ
               secondary และ tertiary prevention ซ่งไดแก การอุดฟน รักษารากฟน ใสฟนปลอม จะเปนการลงทุนสูง

                             ี
               และแกปญหาท่ปลายเหต   ุ
                        เน่องจากโรคในชองปากมีความเกี่ยวของกับความแตกตางทางชีวภาพของบุคคล (biological
                         ื

               variation) เชนเดียวกับโรคท่วไป ดังน้น นักระบาดวิทยาพยายามจะคนหารูปแบบการเกิดโรคในกลุมคน
                                                  ั
                                          ั
                 ึ
                           ี
                         ี
               ซ่งปจจัยท่เก่ยวของกับการเกิดโรคในชองปาก ไดแก ในแงตัวบุคคลประกอบดวย ปจจัยทางดานพันธุกรรม
                                            ื
               ปจจัยทางชีววิทยา (เพศ อายุ เช้อชาติ) ปจจัยจากสิ่งแวดลอมทางกายภาพ (สุขอนามัย อาหาร น้ำ อากาศ
               อันตรายจากอาชีพ) ปจจัยจากส่งแวดลอมทางสังคม (การศึกษา ความเช่อ วัฒนธรรม) และปจจัยจากพฤติกรรม
                                           ิ
                                                                            ื
               (การสูบบุหร่ การออกกำลังกาย การแปรงฟน การบริโภคอาหารประเภทน้ำตาล การพบทันตแพทย) ซ่งเปน
                          ี
                                                                                                         ึ
               พหุปจจัย (multifactorial) ของโรคในชองปาก

                                                                ี
                        ตัวอยาง การศึกษาระบาดวิทยาโรคในชองปาก ท่ผานมา ไดแก การประเมินสภาวะของโรคในชองปาก
               ในชุมชนและกลุมเปาหมายเฉพาะ การบงชี้ปจจัยเสี่ยงหรือปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดโรคในชองปาก


               การทดสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของวิธีการปองกันโรคและการสงเสริมสุขภาพชองปากตอ


                        ื
                                                                               ั
                                                         ื
               ชุมชน เพ่อนำมาใชในการวางแผนกำลังคน เคร่องมือ งบประมาณรวมท้งใชในการประเมินผลโครงการและ
               การบริการทันตสาธารณสุขใหเหมาะสมและประหยัดทรัพยากร
                         ประวัติการศึกษาระบาดวิทยาในชองปาก เร่มต้งแต ในป ค.ศ.1901 โดย Dr. Frederick McKay
                                                              ิ
                                                                 ั
                ทันตแพทยในเมืองโคโลราโด ไดสังเกตเห็นผูคนในเมืองมีฟนติดสีน้ำตาล หลังจากนั้น Dr. Frederick McKay

                รวมกับ Dr. Green Vardiman Black ไดศึกษาวิจัยการเกิดการติดสีน้ำตาลบนตัวฟน พวกเขาคนพบขอสังเกต


       17
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25