Page 23 - Ebook
P. 23

ี
                  ง.   เปนโรคท่พบไดในทุกกลุมประชากร มีเพียงความชุกของโรคท่อาจแตกตางกันในแตละกลุมประชากร
                              ี
                                                                                                          ื
                                                                                           ี
                  จ.   โรคในชองปากบางชนิดเปนโรคเร้อรัง ระยะเริ่มแรกของโรคเปนไปอยางชาๆ ยากท่จะวัดวาเกิดโรคเม่อใด
                                                  ื
                       การศึกษาธรรมชาติของการเกิดโรคในชองปากบางโรคจึงทำไดคอนขางยากและตองใชเวลานาน เชน
                        โรคปริทันตอักเสบซึ่งมีการดำเนินโรคนานหลายสิบปกวาโรคจะดำเนินถึงขั้นสุดทาย

               2. หนวยนับอัตราชุกของโรค นอกจากจะนับจากจำนวนประชาการศึกษา (คน) แลว สามารถนับเปนอัตราชุก

                   ของจำนวนฟน (ซี่) และ/หรือ จำนวนดานฟนที่เปนโรคไดดวย

               3. การประเมินการวัดรอยโรค อาจจะแตกตางกันตามวัตถุประสงค เชน การประเมินฟนผุ ใชตรวจแตละซ   ่ ี

                   แตการประเมินโรคปริทันต ใชตรวจแตละสวนในชองปาก (sextant)

                                                        ึ
                       ี
               4. ดัชนีท่ใชช้วัดโรคในปจจุบัน มีหลายดัชนี ข้นกับวัตถุประสงคของผูใชวาตองการนำเสนออยางไร ดังน้น
                                                                                                            ั
                           ี
                   การเปรียบเทียบขอมูลระบาดวิทยาของประเทศตางๆ และในชวงเวลาตางกัน จึงทำไดคอนขางจำกัด
               การวัดขนาดของโรคในชองปาก


                                                    ิ
                      การวัดขนาดของโรคในชองปากเปนส่งจำเปนในการศึกษาทางระบาดวิทยา ชวยใหทราบขนาด (magnitude)
                ของปญหา คือ ทำใหทราบจำนวนผูปวยโรคในชองปาก ในชุมชนวามีจำนวนมากนอยเพียงใด ทำใหเห็นการกระจาย

                ของโรคในชองปากในทองท่หรือกลุมประชากรตางๆ (distribution) และไดเห็นแนวโนม (trend) ของโรค
                                        ี
                เปนประโยชนในดานการปองกัน และควบคุมโรค การวางแผนดานการรักษา การคนหาสาเหตุของโรคในชองปาก

                ตลอดจนการเปรียบเทียบสภาวะสุขภาพชองปากระหวางประชากรกลุมตางๆ การวัดขนาดและการบันทึกโรค

                ในชองปาก แบงไดเปน 3 ประเภท ไดแก
                    1.   ในระดับบุคคล หรือในการจัดการทางคลินิก ใชเพ่อชวยวินิจฉัยโรค หรือ ประเมินความตองการการรักษา
                                                                ื
                         ในระดับบุคคล

                                        ื
                    2.   ในระดับชุมชน ใชเพ่อบันทึกความชุกของโรคในประชากร หรือ เพื่อชวยใหเขาใจสาเหตุของโรค หรือ
                                                                           ื
                         ื
                        เพ่อประเมินความตองการการรักษาของชุมชน หรือ เพ่อประเมินประสิทธิภาพของโครงการ
                         ทันตสาธารณสุขในชุมชน
                    3.   ใชในการวิจัย เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของวิธีการปองกันโรคหรือผลิตภัณฑใหมๆ





                วิธีการวัดขนาดของโรคในชองปาก ทำไดหลายวิธี เชน

                                                                                  ี
                                                                                         ี
               1. จำนวนนับ (counts) เปนวิธีการที่งายที่สุด โดยการนับจำนวนคน หรือ ซ่ (ฟน) ท่มีโรค
               2. สัดสวน (proportions)

                                                                   ั
                        เปนการเปรียบเทียบจำนวนยอย (x) กับจำนวนรวมท้งหมด (x + y + z)  โดยมากมักแปลงเปนรูปรอยละ
               หรือเปอรเซ็นต สวนมากในทางระบาดวิทยาสามารถวัดได 2 รูปแบบ ไดแก ความชุก (prevalence) และ

               อุบัติการณ (incidence)


                                                                                                                20
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28