Page 22 - Ebook
P. 22

ประโยชนของการศึกษาระบาดวิทยาของโรคในชองปาก


                  ระบาดวิทยาโรคในชองปากมีความสำคัญและมีประโยชน ดังน       ี ้

               1. ชวยอธิบายกระบวนการทางชีวภาพในสภาวะปกติ เชน ระยะเวลาและลำดับการข้นของฟนแท
                                                                                       ึ
               2. ชวยอธิบายธรรมชาติของการเกิดโรค การสังเกตการดำเนินของโรคและผลกระทบท่เกิดกับประชากร
                                                                                              ี
                          ี
                  ความรูเก่ยวกับระบาดวิทยาของโรคชองปาก ใชเปนประโยชนในการจัดระดับความรุนแรงของโรคในชองปาก
                                        ี
                                                                                   ั
                   ทำใหแยกโรคที่รายแรงท่รักษาไมไดออกจากโรคท่สามารถรักษาได รวมท้งเปนประโยชนในการปองกัน
                                                              ี
                  โรคและทำนายผลของการรักษา
                                                                                 ึ
               3. ชวยใหความรูเก่ยวกับความชุกและการกระจายของโรค และปจจัยตางๆ ซ่งมีอิทธิพลตอการกระจายของโรค
                               ี
               4. ชวยคนหาสาเหตุของโรคและปจจัยที่เสี่ยงตอการเกิดโรค

               5.  เปนประโยชนตองานวิจัยทางวิทยาศาสตรสุขภาพ (health science research) หลักการและวิธีการ

                                              ื
                   ทางระบาดวิทยาโดยเฉพาะเร่องการออกแบบการศึกษาทางระบาดวิทยาชองปากเปนประโยชน
                                                                                               ิ
                                                                   ั
                                                                                                     ึ
                                                                                                 ึ
                   ในงานวิจัยทางวิทยาศาสตรสุขภาพ ชวยใหการวิจัยน้นมีความถูกตองสมบูรณมากย่งข้น ซ่งการวิจัย
                  ทางระบาดวิทยาแตกตางจากการวิจัยทางคลินิก ตรงที่การวิจัยทางระบาดวิทยาเปนการศึกษาในชุมชน
                                                                                 ี
                   และกลุมเปาหมาย มากกวาการศึกษาเฉพาะรายบุคคล และกลุมเปาหมายท่ศึกษาในการวิจัยทางระบาดวิทยา
                                   ี
                   จะมีท้งประชากรท่ปวยและไมปวย เชน ชวยทดสอบสมมติฐานสำหรับการวิจัยภาคสนามในการทดสอบ
                        ั
                   การใชฟลออไรดหลายๆ รปแบบในการปองกันการเกิดฟนผุในกลุมประชากร
                                
                          ู
                       
                                        ู
               6. นำมาใชเปนหลักในการสำรวจทันตสุขภาพของชุมชน การวินิจฉัยสุขภาพชองปากของชุมชน การวางแผน
                   แกไขปญหา ตลอดจนการประเมินผลโครงการสรางเสริมสุขภาพชองปากของชุมชน




               ขอแตกตางระหวางระบาดวิทยาของโรคในชองปากและระบาดวิทยาของโรคท่วไป
                                                                                                         ั
                   ระบาดวิทยาในชองปาก มีวิธีการศึกษาตางจากระบาดวิทยาของโรคทั่วไป ดังนี้

               1. ลักษณะของโรคในชองปาก มีคุณสมบัติพิเศษ ดังน    ี ้

                  ก.  เปนโรคที่มีความชุกสูง

                                                                                                      ี
                  ข.   เปนโรคท่มีความสัมพันธกับอายุอยางมาก ธรรมชาติวิทยาของการเกิดโรคในชองปากจะมีการเปล่ยนแปลง
                              ี
                        ไปตามชวงวัย

                                                                                                  ั
                  ค.   เปนโรคท่ไมมีการเปลี่ยนแปลงกลับเปนปกติได เชน โรคฟนผุ หากมีการผุแลวรอยผุน้นไมสามารถ
                               ี
                       คืนกลับเปนฟนสภาพปกติได










       19
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27