Page 26 - Ebook
P. 26

คุณสมบัติของดัชนีของโรคในชองปากที่ดี ไดแก


               1. มีความถูกตอง (validity) ดัชนีที่ดีตองสามารถวัดสิ่งที่ตองการวัดได สอดคลองกับระดับของโรคทางคลินิก

               2. มีความเชื่อถือได (reliability) หากวัดสิ่งเดิมซ้ำหลายครั้ง ดัชนีที่ดีตองวัดไดคาเดียวกันในทุกๆ ครั้ง

                                                                                                 ี
                                                                                        ื
               3. สามารถทำซ้ำได (reproducibility) ดัชนีที่ดีตองสามารถวัดไดคาท่ใกลเคียงกัน เม่อมีการเปล่ยนแปลงผูวัด
                                                                           ี
                  ภายใตสภาวะเดียวกัน (inter-examiner reproducibility) หรือ ผูวัดคนเดียวกันภายใตสภาวะหรือเวลา
                  ที่ตางกัน (intra-examiner reproducibility)

               4. มีความชัดเจน ไมกำกวม ตรงวัตถุประสงค ใชงาย

               5. สามารถใหขอมูลเชิงปริมาณที่สามารถวิเคราะหทางสถิติได เพื่อบงบอกการกระจายโรคของกลุมประชากร

                  เปนคาเฉลี่ย, มัธยฐาน หรือคาสถิติอื่นๆ ได

               6. มีความไว สามารถวินิจฉัยไดทั้งสภาวะและทิศทางของโรค

                                                                                       ี
               7. ไมทำใหเกิดอันตราย ระคายเคือง หรือความเจ็บปวด แกบุคคลหรือประชากรท่ไดรับการตรวจ
               8. บอกความเสี่ยงของโรคได ดัชนีที่ดีควรมีความสามารถในการบงชี้ความเสี่ยงของโรคในอนาคตได


                          ี
                        ท้งน้   อาจนำดัชนีที่ใชช้วัดโรคมาใชประกอบกันหลายดัชนี ข้นอยูกับวัตถุประสงคของผูใชวาตองการ
                                           ี
                                                                           ึ
                       ั
                         
               นำเสนออยางไร ตอบคำถามที่ถามหรือไม และควรมีการจัดการกับความเที่ยงตรงของดัชนีดวย
               รูปแบบการศึกษาและตัวอยางงานวิจัยระบาดวิทยาในชองปาก


                        รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยาจำแนกออกเปนชนิดตางๆ ไดหลายชนิด แตละชนิดมีคุณสมบัติ

               หรือลักษณะจำเพาะแตกตางกันออกไป บางชนิดชวยในการคนหาขอมูลและขอเท็จจริงตางๆ ตลอดจนชวยใน

                                                                  ื
               การต้งสมมติฐาน บางชนิดก็ชวยในการศึกษาความสัมพันธเบ้องตน และชวยในการทดสอบสมมติฐาน การศึกษา
                    ั
               แตละชนิดมีขอดีและขอเสียแตกตางกัน ดังนั้น การเลือกชนิดของการศึกษาทางระบาดวิทยาควรสอดคลอง


               การศึกษาแตละชนิด
                      การแบงแยกชนิดของการศึกษาทางระบาดวิทยา (classification of epidemiological studies)  (10)


               1. การแบงตามลำดับเวลา (time sequence)

                       1.1  การศึกษา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (cross-sectional studies or prevalence studies)

                       1.2  การศึกษายอนหลัง (retrospective studies or case-control studies)

                       1.3  การศึกษายอนหลังและไปขางหนา (retrospective-prospective studies or historical–

                             prospective studies)

                       1.4  การศึกษาไปขางหนา (prospective studies or cohort studies)

                       1.5  การศึกษาเชิงทดลอง (experimental studies, intervention studies or clinical trial)




       23
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31