Page 31 - Ebook
P. 31

ี
                       หากตองการศึกษาแบบ cohort study หรือการศึกษาจากเหตุไปหาผลท่ติดตามประเมินผลลัพธ
               ในภายหลังก็ไดโดยสามารถวางแผนรวบรวมขอมูล โดยประเมินลักษณะทางคลินิกและภาพถายรังสีของ

                           ี
                                                         ื
               โรคปริทันตท่มีผลตอการพยากรณโรคกลามเน้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (myocardial infarction (MI))
                                                                                   ี
                                                                                      ิ
                                                                                   ่
               ภายหลังจากการออกแบบการศึกษา และติดตามไปเพ่อประเมินผลลพธทเกดขนในอนาคต
                                                                  ื
                                                                               ั
                                                                                        ึ
                                                                                        ้
               3. การศึกษาเชิงทดลอง (experimental study)
                                                 ิ
                       เปนการศึกษาท่มีการกำหนดส่งทดลองหรือส่งแทรกแซง (Intervention) ใหกับอาสาสมัครผูเขารวมใน
                                     ี
                                                             ิ
                                                ึ
                                           ี
               การวิจัย แลวเฝาติดตามดูผลท่เกิดข้นในอนาคต เปนลักษณะการศึกษาแบบไปขางหนา (prospective)
                  ื
               เพ่อทดสอบมาตรการปองกันและควบคุมโรค ประสิทธิผลของยาท่ใหกับกลุมอาสาสมัคร มุงหาความเปนเหตุเปนผล
                                                                     ี
               (cause-effect) ของส่งทดลองและผลลัพธ (outcome) ของการศึกษา เชน การศึกษายาสีฟนผสมฟลูออไรด
                                   ิ
               3 ความเขมขน ในการปองกันโรคฟนผุในเด็กเล็ก โดยมีกลุมทดลอง 3 กลุมที่ใชยาสีฟนผสมฟลูออไรด 3 ชนิด
                                ี
                                          ี
               และกลุมควบคุมท่ใชยาสีฟนท่ไมมีฟลูออไรด และวัดอัตราฟนผุ ถอน อุด ในกลุมทดลองและกลุมควบคุม
               และเปรียบเทียบอัตราฟนผุในกลุมตางๆ

               การศึกษาเชิงทดลองแบงตามสถานที่ที่ทำการศึกษา ไดเปน 3 ชนิด ไดแก

                       3.1 การศึกษาทางคลินิก (clinical trial) เปนการเก็บขอมูลในผูปวยที่มารักษาในคลินิก

                       3.2 การศึกษาภาคสนาม (field trial) เปนการเก็บขอมูลนอกสถานพยาบาล สวนมากจะเปน

                            การศึกษาในกลุมคนปกติ เชน การจัดโครงการแปรงฟนโดยผูดูแลเด็กในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

                            หรือ การเคลือบหลุมรองฟนใหเด็กนักเรียนในโรงเรียน

                       3.3 การศึกษาในชุมชน (community trial) เปนการศึกษาคลายการศึกษาภาคสนาม แตมีการ

                                                               ี
                            ใหส่งทดลองกับคนทุกคนในชุมชน แทนท่จะเปนในระดับบุคคล และประเมินผลของส่งทดลอง
                                                                                                      ิ
                               ิ
                               ในระดับชุมชน เชน การจัดทำโครงการสรางเสริมสุขภาพชองปากโดยชุมชนมีสวนรวม
                               หรือ การเติมฟลูออไรดในน้ำดื่ม



               ขั้นตอนในการปองกันหรือควบคุมโรค โดยใชวิธีการศึกษาทางระบาดวิทยา                       (14)



                       หากเราเขาใจรูปแบบการศึกษาระบาดวิทยาตางๆ เราจะสามารถนำรูปแบบการศึกษาระบาดวิทยาไป

               ประยุกตใชในข้นตอนตางๆ ของการปองกันและควบคุมโรคได ต้งแตการวิเคราะหสถานการณของกลุมหรือชุมชนนั้นๆ
                            ั
                                                                  ั
               โดยการสำรวจ คัดกรองโรค เพ่อทราบปญหาและเลือกปญหาท่สำคัญและคนหาสาเหตุท่มีผลตอการเกิดโรค
                                                                                             ี
                                                                       ี
                                           ื
                                                              ี
                                                                              ื
               ดวยการวิเคราะหหาสาเหตุตางๆ และเลือกวิธีการท่มีประสิทธิภาพเพ่อจัดดำเนินโครงการในการปองกัน
               และควบคุมโรค รวมถึงการประเมินผลโครงการที่ไดดำเนินการไปแลว ดังภาพ 4






                                                                                                                28
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36