Page 30 - Ebook
P. 30

ที่เกิดขึ้น หรืออาจทำในรูปแบบการเฝาระวัง

                        5. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล อาจใชวิธีการตางๆ ตามความเหมาะสมของสถานการณดานกำลังคน

               เวลา และเงิน การเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณ การใชแบบสอบถามชนิดกรอกดวยตนเอง การตรวจรางกาย

               การตรวจทางหองปฏิบัติการตางๆ และการสำรวจเวชระเบียน เชน การสำรวจจากเวชระเบียนของผูปวย

               ในโรงพยาบาล รายงานโรคติดตอ รายงานสุขาภิบาล และอ่นๆ และควรจะมีการตรวจสอบเครื่องมือ
                                                                       ื
               และวิธีการในการรวบรวมขอมูลใหอยูในลักษณะเดียวกันและไดมาตรฐาน และมีการฝกบุคลากรกอนท่จะ
                                                                                                           ี
               ออกไปรวบรวมขอมูลเพื่อใหปฏิบัติงานเปนไปในแนวเดียวกัน

                         6. วิธีการวิเคราะหขอมูล  เปนการจัดระเบียบและแยกประเภทขอมูลออกเปนสวนตางๆ

                                                            ึ
                                           ี
               เพ่อใหไดคำตอบในปญหาท่ศึกษาหรือวิจัย ซ่งจะตองวางแผนไวลวงหนาวาจะวิเคราะหดวยมือ
                  ื
               หรือคอมพิวเตอร และจะใชสถิติใดในการวิเคราะหขอมูล
                                                                                              ี
                         7. การตีความและสรุปผล  ควรอยูในกรอบของวิธีการศึกษาและกลุมประชากรท่ศึกษาการตีความ
               และสรุปผลตองปราศจากความลำเอียง กะทัดรัด ไดใจความ ตอบปญหาและคำถามท่ศึกษา และถาเปนการศึกษา
                                                                                      ี
                 ี
                                                                                   ั
                  ั
               ท่ต้งสมมติฐานไวก็ตองพิจารณาวาสอดคลองกับสมมติฐานหรือไม ถาไมไดต้งสมมติฐานก็นำผลการศึกษา
               มาหาขอยุติของปญหา

               2. การศึกษาเชิงวิเคราะห (analytical study)


                                             ี
                       เปนการศึกษาปจจัยเส่ยงและสาเหตุของการเกิดโรค โดย การเปรียบเทียบ การมีและไมม         ี
                                                ึ
               ปจจัยเสี่ยง หรือการมีและไมมีโรค ซ่งอาจแบงไดเปนการศึกษาแบบ case control study และ cohort
               study โดยการศึกษาแบบ case control study เปนการศึกษาจากผลไปหาเหตุ โดยเปรียบเทียบวา

               ผูเปนและไมเปนโรค มีปจจัยเส่ยงท่สงสัยวาเปนสาเหตุของโรคแตกตางกันหรือไม ในขณะท่การศึกษา
                                            ี
                                                ี
                                                                                                    ี
                                                                                         ่
                                                                          ี
                                                                                                           ี
                                                                                          ี
                                                                                                   ี
                                                                                         ี
                                                                                                           ่
               แบบ cohort study เปนการศึกษาจากเหตุไปหาผล โดยเปรยบเทยบวาผทมและไมมปจจยเสยง
                                                                                       ู
                                                                                                       ั
                                                                                ี
               (ท่สงสัยวาเปนเหตุของโรค) มีอัตราการเกิดโรคแตกตางกันหรือไม เชน การศึกษาความสัมพันธของโรคปริทันต
                 ี
               อักเสบ (periodontitis) กับการเกิดโรคกลามเน้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (myocardial infarction (MI))
                                                          ื
               ซ่งมีวัตถุประสงคเพ่อระบุวาในกลุมผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (myocardial infarction (MI))
                                ื
                 ึ
                                                                                               ึ
               (case) มีสภาวะปริทันต (periodontal status) แตกตางกับกลุมควบคุม (control) ซ่งไมเคยเปน MI
               มากอนหรือไม หากมีการบันทึกสภาวะปริทันตที่คาดวาเปนสาเหตุของโรคไวในเวชระเบียนแลว อาจวางแผน
               การศึกษาแบบ case-control study ซ่งเปนการศึกษาจากคนท่เปนโรคไปหาปจจัยเส่ยงท่เกิดข้นแลวในอดีต
                                                                                             ี
                                                  ึ
                                                                                                  ึ
                                                                                         ี
                                                                       ี
                                             ี
               ได แตหากตองการศึกษาปจจัยเส่ยงของโรคปริทันตท่จะรวบรวมจากลักษณะทางคลินิกและภาพถายรังสี
                                                               ี
               โดยการวัดการสูญเสียกระดูกไปพรอมกับการประเมินผลโรคท่มีอยู ก็สามารถวางแผนการศึกษาแบบ
                                                                         ี
                                                                                                            ึ
                                                                                            ี
               cross-sectional analytical study หรือการศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรตางๆ ท่จุดเวลาใดเวลาหน่ง
       27
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35