Page 73 - Ebook
P. 73

เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา รายได

                                           (31)
                      จากการศึกษาท่ผานมา  พบความสัมพันธเปนปฏิภาคผกผันกันระหวางการเกิดโรคฟนผุของเด็ก
                                    ี
                                                                                                       ี
               กับปจจัยดานเศรษฐกิจสังคมของครอบครัว พบวาโรคฟนผุมีแนวโนมจะเกิดมากในครอบครัวท่มีสภาพ
                                                                                                       ี
               ทางเศรษฐกิจสังคมต่ำ อาจอธิบายไดวา ครอบครัวท่มีสภาพทางเศรษฐกิจสังคมต่ำ มักจะมีแนวโนมท่มีระดับ
                                                             ี
               การศึกษาต่ำ มีพฤติกรรมการบริโภคน้ำตาลสูงและมีพฤติกรรมการแปรงฟนต่ำ ผูปกครองใชเวลาสวนใหญ

                  ื
               เพ่อหารายไดสําหรับใชจายในครอบครัว ทําใหไมมีเวลาสําหรับดําเนินกิจกรรมการปองกันฟนผุใหเด็ก
                         ี
               นอกจากน้การพาบุตรหลานไปพบทันตแพทยเปนส่งท่ทําไดยากในกลุมผูปกครองของเด็กในกลุม
                                                                    ี
                                                                 ิ
                 ี
               ท่ครอบครัวมีรายไดต่ำและอยูไกลสถานพยาบาล การพาเด็กไปพบทันตแพทยในสถานพยาบาลตองมีคาใชจาย
                                                                                      ึ
                                                        ื
               ในการเดินทาง หรือผูปกครองตองหยุดงานเพ่อพาเด็กไปรับการรักษาพยาบาลซ่งอาจมีผลใหไมไดรับคาจาง
               แรงงานในชวงเวลาเหลานั้น เชนเดียวกับปจจัยทางดานการศึกษาท่จะพบไดบอยวา หากผูปกครองหรือผูดูแลเด็ก
                                                                        ี
                                ี
                                                                   ี
                                              ี
               มีระดับการศึกษาท่สูงกวา แนวโนมท่จะพบสุขภาพชองปากท่ดีกวา ปจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา รายได
                              ี
                                                                 ี
                                                                            ี
                                                                                                 ี
               เปนปจจัยลึกๆ ท่กําหนดปจจัยดานพฤติกรรมตางๆ โดยท่ปจจัยเหลาน้คอนขางควบคุมหรือเปล่ยนแปลงไดยาก
                                                                                                       ี
                                                                                            ื
               งานทางดานสาธารณสุขตองทําในระดับประชากรเพื่อยกคุณภาพชีวิตของปจจัยเหลาน้ จึงจะเอ้อตอการเปล่ยนแปลง
                                                                                     ี
               ปจจัยทางดานพฤติกรรมตอไป
                  พฤติกรรมการรับประทานอาหารประเภทน้ำตาล
                      อาหารแปรรูปท่มีสวนผสมของน้ำตาลเปนปจจัยท่สําคัญตอโรคฟนผุ ในปจจุบันปจจุบันอาหารเหลานี ้
                                    ี
                                                                 ี
                                                                            ื
                                                           ี
                                                                                           ี
               มีการแพรกระจายไปอยางรวดเร็วพรอมกับราคาท่ถูกลง สามารถหาซ้อไดงาย ในขณะท่ความรูของผูปกครอง
               และประชาชนท่วไปเก่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคฟนผุในยังจํากัดอยูท่ลูกกวาดและขนมหวาน จากการศึกษาของ
                                                                          ี
                                  ี
                             ั
                                (32)
               Skinner และคณะ พบวา รอยละ 78 ของผูปกครองสามารถอธิบายไดวาอาหารประเภทน้ำตาลควรจะ
                                                                                                      ี
               จำกดเฉพาะเวลาอาหาร ไมควรรับประทานนอกมื้ออาหาร แตมีเพียงรอยละ 7 ของผูปกครอง กลุมนี้ท่สามารถ
                   ั
                                                                                 ั
                               ี
               เลือกชนิดอาหารท่มีนําตาลสูงและเปนสาเหตุใหเกิดฟนผุไดอยางถูกตอง ดังน้นยังมีความตองการที่จะใหความร ู
                                  ้
                                                                                          ี
               ความเขาใจถึงสวนประกอบของอาหารและขนมท่มีน้ำตาลสูงใหกับกลุมผูปกครองเหลาน้อยู รวมกับการปรับปรุง
                                                         ี
                                                                                              ื
               ส่งแวดลอมท่เอ้อตอการเลือกรับประทานอาหารประเภทน้ำตาล โดยจะพบวา หากพ้นท่หรือโรงเรียน
                                                                                                  ี
                 ิ
                            ี
                              ื
                                                                                 ี
                                                                                                            ี
                             ี
                 ี
               ท่มีอาหารวางท่มีน้ำตาลสูง เด็กๆ สามารถเขาถึงไดงาย ก็จะทําใหความถ่ในการรับประทานอาหารวางท่ม ี
               น้ำตาลสูงดวยเชนกัน








                                                                                                                70            71
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78