Page 72 - Ebook
P. 72

ปจจัยใกลตัว (proximal factors) ไดแก ปจจัยที่เกิดจากพฤติกรรม (behavioural factors) และ

                                                                                                         ึ
               ปจจัยไกลตัว (distal factors) ไดแก ปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม (socioeconomic factors) ซ่งเปน
                                                                                           ี
                 ื
               เบ้องหลังของปจจัยการเกิดโรค การเกิดฟนผุเกิดจากปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม ท่เปนตัวกําหนดปจจัย
                                                                                                        ี
               ทางดานพฤติกรรมและสงผลตอผลลัพธทางสุขภาพ เกิดกระบวนการเปล่ยนแปลงทางกายภาพ โดยท่ปจจัย
                                                                               ี
                                                ี
                     ี
               ลึกๆ ท่เปนรากของปจจัยอ่นๆ เหลาน้ เปนปจจัยท่ควบคุมไดยาก และตองอาศัยการจัดการในระดับประชากร
                                       ื
                                                           ี
               (population approach) ดังน้น ในการใหการสรางเสริมสุขภาพและทันตกรรมปองกันควรพิจารณาปจจัย
                                           ั
                 ื
               อ่นๆ ท่เปนพื้นฐานของปจจัยใกลตัวของผูปวยดวย
                      ี
                      ในท่น้จะขอกลาวถึงปจจัยตางๆ ท่เปนปจจัยท่วไปท่เกิดจากเฉพาะตัวบุคคลและปจจัยท่เกิดจาก
                           ี
                                                                ั
                                                                                                      ี
                          ี
                                                                     ี
                                                     ี
               พฤติกรรมและสิ่งแวดลอมกับแนวโนมการเกิดโรคฟนผ    ุ (28)  ดังนี้
                  อายุ
                                               ึ
                                                                                    ึ
                            ี
                                                                                                            ึ
                                                                                                         ิ
                      คาเฉล่ยฟนผุ อุด ถอนเพิ่มข้นเม่ออายุเพ่มข้น โดยพบวา ในอายุท่เพิ่มข้น สัดสวนของฟนอุดก็เพ่มข้น
                                                         ิ
                                                            ึ
                                                                               ี
                                                  ื
                                     ึ
                                             ื
                                                                                        ี
               และฟนท่ถอนก็จะมากข้นดวย เน่องจากมีโอกาสในการรับบริการทางทันตกรรมท่มากขึ้น ในกลุมอายุเด็ก
                        ี
                                                                             ี
               มักจะพบฟนผุบริเวณหลุมรองฟนและดานประชิดของตัวฟน ในขณะท่กลุมผูสูงอายุมักจะพบฟนผุในบริเวณ
               คอฟนหรือรากฟนเปนสวนใหญ
                  เพศ
                      เพศหญิงมักจะพบคาเฉล่ยผุ อุด ถอน สูงกวาเพศชาย ในชวงอายุเดียวกัน ความแตกตางน้อาจจะมา
                                                                                                     ี
                                            ี
                                               ึ
               จากสาเหตุท่เพศหญิงมักจะพบฟนข้นเร็วกวาเพศชาย จึงมีโอกาสเกิดฟนผุไดเร็วกวา แตจากขอมูลการสํารวจ
                          ี
                                       ี
               มักจะพบวาเพศชายมีฟนผุท่ไมไดรับการรักษาสูงกวาเพศหญิง ซึ่งอาจจะเปนเพราะเพศหญิงมีแนวโนมที่จะสนใจ
               ในสุขภาพชองปากและมาพบทันตแพทยบอยกวาเพศชายทําใหสัดสวนฟนที่อุดสูงกวาเพศชาย  (29)
                  เชื้อชาติ

                                                                                        ึ
                                       ั
                                                                                 ื
                                                                                                      ี
                      จากผลการสํารวจท่วโลก ถึงแมจะพบความแตกตางฟนผุระหวางเช้อชาติ ซ่งความแตกตางน้นาจะมา
                                                                                                          (30)
               จากปจจัยเร่องส่งแวดลอมมากกวาปจจัยทางเช้อชาติหรือกรรมพันธุ โดยมีหลักฐานท่สนับสนุนวา
                           ื
                               ิ
                                                            ื
                                                                                               ี
               กลุมคนท่มีเช้อชาติหน่งท่ปราศจากฟนผุ แตอพยพไปในพ้นท่อ่นท่มีวัฒนธรรมและรูปแบบการรับประทาน
                                   ึ
                                                                      ี
                                                                       ื
                           ื
                        ี
                                                                   ื
                                      ี
                                                                          ี
                                                   ี
                                        ั
               อาหารท่แตกตางกัน กลุมคนน้นก็มีโอกาสท่จะพัฒนาการเกิดฟนผุได ดังน้น ปจจัยส่งแวดลอมเปนตัวกําหนดมากกวา
                                                                           ั
                                                                                   ิ
                      ี
                          ื
               ปจจัยจากเช้อชาต ิ
 68    69
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77