Page 69 - Ebook
P. 69
ภูมิภาค DMFT (2004) DMFT (2011) DMFT (2015) DMFT (2018)
ภาคพื้นแปซิฟก 1.48 1.39 1.05 1.8
ตะวันตก
ทั่วโลก 1.61 1.67 1.86 1.9
ท่มา: Oral Health Database, Malmö University. Available at:
ี
https://capp.mau.se/dental-caries/ (access 19.07.22) และ Mascarenhas, A. K., Okunseri, C.,
& Dye, B. (2020). Burt and Eklund’s Dentistry, Dental Practice, and the Community-E-Book:
Elsevier Health Sciences
องคการอนามัยโลกไดพัฒนาระบบเฝาระวังโรคมาหลายป โดยใหมีการสํารวจสภาวะสุขภาพชองปาก
ื
สม่ำเสมอ โดยไดจัดทําเกณฑและวิธีในการศึกษาระบาดวิทยาในชองปากเพ่อใหประเทศตางๆ
มการสำรวจสภาวะสุขภาพชองปากประชากรวัยตางๆ เพ่อเปนขอมูลในการวางแผนพัฒนาตอไป
ื
ี
ั
ในประเทศไทย ต้งแตป 2520 สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ไดดําเนินการสํารวจสภาวะ
ื
สุขภาพชองปากระดับประเทศอยางตอเน่องทุก 5 ปเปนตนมา จนถึงการสํารวจสภาวะสุขภาพชองปาก
แหงชาติ ครั้งท่ 8 ในป 2560 (22) โดยมีกลุมอายุสําคัญท่เปนตัวแทนความเปล่ยนแปลงของสภาวะ
ี
ี
ี
ชองปาก แตละชวงวัยประกอบดวย เด็กกอนวัยเรียนอายุ 3 ป และ 5 ป กลุมเด็กวัยเรียนและวัยรุนอาย ุ
12 ป และ 15 ป กลุมผูใหญอายุ 35-44 ป ผูสูงอายุ 60-74 ป และ 80-85 ป ผลการสํารวจพบวา
ในกลุมเด็ก
สถานการณการเกิดโรคฟนผุในชุดฟนน้ำนม กลุมเด็กอายุ 3 ป และ 5 ป พบวายังมีความชุกสูง
แตมีแนวโนมลดลง ดังภาพ 48 และตารางท่ 15 นอกจากน้ยังพบวาเขตชนบทมีความชุกโรคฟนผุมากกวา
ี
ี
เขตเมือง สวนสถานการณในฟนถาวรของเด็กอายุ 12 ป แนวโนมความชุกของโรคฟนผุในเด็กกรุงเทพมหานคร
ั
ลดลง โดยพบวาเด็กอายุ 12 ป ฟนผุรอยละ 52 คาเฉล่ยฟนผุ ถอน อุด 1.4 ซี่/คน นอกจากน้นแลวยังพบ
ี
ปญหาปวดฟนถึงรอยละ 36.7 ดังภาพ 49
66 67