Page 71 - Ebook
P. 71
ในกลุมวัยทํางานและผูสูงอายุ
จากผลการสํารวจแตละป พบวา โรคฟนผุในกลุมวัยทํางานและผูสูงอายุยังพบไดสูง จากตารางท่ 15
ี
ี
ี
คาเฉล่ยฟนผุ ถอน อุด ในป 2560 ของกลุมอายุ 35-44 ป มีคาเทากับ 6.6 ซ่ตอคน และของกลุมอายุ 60-74 ป
มีคาเทากับ 18.6 ซี่ตอคน
ตารางที่ 15 คาเฉลี่ยฟนผุ ถอน อุด ในกลุมอายุตางๆ จําแนกตามปที่สํารวจของประเทศไทย
Age
(years) 2527 2532 2537 2543-44 2550 2555 2560
3 - 4 3.4 3.6 3.2 2.7 2.8
5 4.9 5.6 5.7 6 5.4 4.4 4.5
12 1.5 1.5 1.6 1.6 1.6 1.3 1.4
15 3.0 2.7 2.4 2.1 2.2 2.0 2.0
35-44 5.4 5.4 6.5 6.1 6.7 6.0 6.6
60-74 16.3 17.1 15.8 14.4 15.9 15.0 18.6
ั
ี
ี
ท่มา: รายงานผลการสํารวจสภาวะสุขภาพชองปากแหงชาติ คร้งท่ 8 ประเทศไทย พ.ศ.2560
ปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคฟนผุ
ี
ี
โรคฟนผุยังเปนปญหาสําคัญท่ประเทศไทยยังเผชิญอยูในปจจุบัน ปจจัยเส่ยงของการเกิดโรคฟนผุ
ื
ี
ิ
ท่ผานมา เรามองแคปจจัยจากตัวฟน ปจจัยจากเช้อโรค และปจจัยจากส่งแวดลอมในปาก แตในปจจุบัน
ึ
ึ
ั
การมองปจจัยเส่ยงของโรคฟนผุไดมองกวางไปถึงบริบทรอบๆ ตัวผูปวยมากข้น ซ่งแบงไดเปนปจจัยท่วไป
ี
ี
ท่เกิดจากเฉพาะตัวบุคคล ไดแก อายุ เพศ เชื้อชาติ เศรษฐกิจ สังคม การศึกษาและรายได และปจจัยท่เกิด
ี
จากพฤติกรรมและส่งแวดลอม ไดแก พฤติกรรมการบริโภคอาหารประเภทน้ำตาล พฤติกรรมการแปรงฟน
ิ
พฤติกรรมการใชฟลูออไรด และพฤติกรรมการไปพบทันตแพทยเปนประจํา Petersen (2005) (27) ไดกลาว
ถึงปจจัยที่เปนสาเหตุลึกๆ ในการนําไปสูผลลัพธทางสุขภาพที่ไมพึงประสงค ประกอบดวย
68 69