Page 145 - Ebook
P. 145
วิทยาการระบาดของโรคเหงือกอักเสบในประเทศไทยน้น มีอัตราชุกของโรคสูงตั้งแต พ.ศ.2532-2555
ั
ปญหาสภาวะปริทันตในเด็กวัยเรียนและเยาวชน คือ การมีเหงือกอักเสบและการมีหินน้ำลาย พบวาเด็กอายุ 12 ป
(28)
ี
ั
พบรอยละ 50-75 และจากผลการสำรวจทันตสุขภาพแหงชาติคร้งท่ 8 ในป พ.ศ.2560 พบวา กลุมเด็กวัยเรียน
และวัยรุนยังมีสภาวะเหงือกอักเสบ โดยมีสวนของชองปากท่มีสภาวะเหงือกปกติลดลงเม่อเปรียบเทียบ
ื
ี
กับการสำรวจท่ผานมา รอยละ 34.5 มีเหงือกอักเสบ เลือดออก โดยรอยละ 31.8 มีหินน้ำลายรวมดวย
ี
ี
แตก็ยังมีเด็กอีกรอยละ 16.7 ท่มีหินน้ำลายในชองปากโดยไมมีการอักเสบของเหงือกแตจำเปนตองไดรับ
ื
การขูดหินปูนเน่องจากเด็กกลุมนี้มีโอกาสพัฒนาเปนเหงือกอักเสบได เด็กในกรุงเทพมหานครและเขตชนบท
มีรอยละเหงือกอักเสบใกลเคียงกันคือ รอยละ 68.9 และ 68.5 ตามลำดับ ในขณะท่เด็กในเขตเมืองเหงือกอักเสบ
ี
ี
ี
รอยละ 63.6 ภาคใตมีเด็กท่มีเหงือกอักเสบมากท่สุดรอยละ 75.2 รองลงมาคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือรอยละ
70.1 ภาคเหนือรอยละ 65.1 และภาคกลางรอยละ 54.9 ตามลำดับ
จากรายงานการสำรวจสุขภาพชองปากคร้งท่ 8 โดยใชดัชนี CPI (Community Periodontal Index)
ั
(28)
ี
ั
การมีรองลึกปริทันตต้งแต 6 มิลลิเมตร พบวามีรอยละ 6.1 ในกลุมอายุ 35-44 ป และรอยละ 12.2 ในกลุม
อายุมากกวา 60 ป ใน พ.ศ. 2560 ประชากรในภาคกลางมีความชุกของโรคปริทันตต่ำกวาทุกภาค ในขณะท ี ่
ั
ึ
ึ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความชุกของโรคปริทันตท่มีรองลึกต้งแต 6 มิลลิเมตรข้นไปรอยละ 18.3 ซ่งสูงกวา
ี
ื
ึ
ภาคอ่นๆ ซ่งรอยโรคปริทันตจำเปนตองไดรับการรักษาจากทันตแพทยและเม่อพิจารณาจากสวนในชองปาก
ื
พบวา ผูสูงอายุกลุมอายุ 60-74 ป มีฟนเหลืออยูในชองปากเฉล่ย 4 ใน 6 สวนตอคน (4 sextants) ในจำนวนนี ้
ี
มีสภาวะเหงือกปกติเฉลี่ย 1.2 สวนตอคน สวนท่เหลือ 2.7 สวน มีหินน้ำลาย มีเหงือกอักเสบหรือมีรองลึกปริทันต
ี
ื
ี
ี
ท้งในระดับต้นและระดับลึก ในขณะท่กลุมอายุ 80-85 ป มีฟนเหลืออยูในชองปากเฉล่ยเพียง 2 ใน 6 สวนตอคน
ั
(2 sextants) และมีเพียง 1 sextant เทานั้นที่มีสภาวะเหงือกปกติ
ปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคปริทันต (29)
ปจจัยเส่ยง (risk factor) หมายถึง ปจจัยใดๆ ก็ตามท่มีสวนสงเสริมหรือเอ้อใหเกิดโรค อยางไรก็ตาม
ี
ี
ื
ี
ั
ี
ิ
อาจตองมีการแยกระหวาง ปจจัยเส่ยงตอโรคต้งแตเร่มแรก (risk factor) และปจจัยท่ทำใหโรคลุกลามมากข้น
ึ
ี
(progressive factor) ซ่งเปนปจจัยท่ชวยใหสามารถทำนายการเกิดโรคหลังการรักษาได ปจจัยเส่ยงสามารถ
ึ
ี
แบงไดเปน
142