Page 149 - Ebook
P. 149

10. โรคกระดูกพรุน

                       การศึกษาจำนวนหน่งพบวา ผูหญิงวัยหมดประจำเดือนซ่งมักจะมีคามวลกระดูกต่ำ มีแนวโนมท่จะมีการ
                                                                                                       ี
                                                                      ึ
                                        ึ
               สูญเสียอวัยวะปริทันต (clinical attachment loss (CAL)),  ภาวะเหงือกรน และการอักเสบของเหงือกมากกวา
                                                                                                            (51)
                                                    (52)
               แตก็ไมสามารถรายงานเปนความสัมพันธได  จากการศึกษาดังกลาว ไดอยูบนสมมติฐานท่วาการสูญเสียความ
                                                                                             ี
               หนาแนนของกระดูกในโรคกระดูกพรุน อาจจะเก่ยวของกับการทำงานของฮอรโมน กรรมพันธุและปจจัยของตัวผูปวย
                                                       ี
                ี
                                  ี
                          ิ
               ท่จะทำใหเพ่มความเส่ยงตอการทำลายอวัยวะปริทันตของแบคทีเรีย อยางไรก็ตาม ยังมีการศึกษาบางการศึกษา
                ี
                                         ี
               ท่ไมพบความสัมพันธของคนท่เปนโรคกระดูกพรุนและการทำลายของโรคปริทันต  (53)
                      11. การติดเชื้อ HIV

                       ในอดีตจะพบความชุกและความรุนแรงของโรคปริทันตไดในผูปวยโรคเอดส และพบวาความสำเร็จ

                                                                      ี
                                                                         ื
               ของการควบคุมการลดประสิทธิภาพของระบบภูมิคุมกันในผูปวยท่มีเช้อ HIV โดยวิธีการใหยาตานไวรัส จะทำใหการ
                                                                                           ื
               รุนแรงของโรคปริทันตลดลง หลายๆ การศึกษาจึงมีการเผยแพรถึงความสัมพันธของการติดเช้อ HIV และโรคปริทันต
               อยางไรก็ตาม หลายๆ การศึกษาก็ไมพบความแตกตางของความรุนแรงของโรคปริทันตกับการติดเช้อ HIV (29)
                                                                                                   ื
                      12. ความเครียด


                       กลไกของความเครียดซึ่งสงผลตอสภาวะโรคปริทันตมีความซับซอน กลไกหน่งท่อาจเปนไปได
                                                                                              ึ
                                                                                                 ี
                             ี
                                                                                ี
               เน่องจากการเปล่ยนแปลงพฤติกรรมนำไปสูการสูบบุหรี่และอนามัยในชองปากท่ไมดี ทำใหเปนสาเหตุของโรคปริทันต
                 ื
                                                                                           ิ
               นอกจากน้นระดับความเครียดยังมีความสัมพันธกับการหล่งสาร cortisol พบการเพ่มการหล่งสารอักเสบ
                        ั
                                                                    ั
                                                                                                   ั
               และสงผลตอการตอตานแบคทีเรียซึ่งสัมพันธกับโรคปริทันตได (29)
                      13. การดื่มแอลกอฮอล
                       คนที่ดื่มแอลกอฮอลมากจะมีความสัมพันธกับโรคปริทันต เชนเดียวกับการสูบบุหร่ โดยมักพบผูที่สูบบุหรี ่
                                                                                           ี
                               ื
               มักจะมีประวัติการด่มแอลกอฮอลมาก แอลกอฮอลมีผลตอการตอบสนองตอการอักเสบของรางกาย มีการเปล่ยนแปลง
                                                                                                       ี
               ของการทำงานของเซลลในรางกาย เชน เซลลเม็ดเลือดขาวที่เกี่ยวของกับการอักเสบ (polymorphonuclear

                                                                                                   ี
                                                                             ี
                                                    ิ
                                                                                   ึ
               leukocyte) มีประสิทธิภาพลดลง มีการเพ่มสารอนุมูลอิสระในปริมาณท่มาก ซ่งสงผลตอการเปล่ยนแปลงและ
               การเสื่อมสภาพของการทำงานของอวัยวะในรางกาย เชน เนื้อเยื่อ กระดูก และเซลลตางๆ (29)























                                                                                                               146
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154