Page 147 - Ebook
P. 147

4. พันธุกรรม

                       ปจจัยทางดานพันธุกรรมเปนปจจัยท่สำคัญ ซ่งสามารถอธิบายไดดวยการตอบสนองทางยีน
                                                                 ึ
                                                         ี
                                        ี
                                                                                                   ี
               จากการศึกษาท่พบวาในคนท่มี interleukin (IL)-1 genotype-positive จะมีแนวโนมท่มีความเส่ยงตอการ
                             ี
                                                                                          ี
               เกิดโรคเหงือกอักเสบไดมากกวาคนที่มี interleukin (IL)-1 genotype-negative ดังจะเห็นวาพบความสัมพันธ
                                                                                       ิ
               ระหวางยีนกับความรุนแรงของโรคปริทันต  อยางไรก็ตามหลายๆ การศึกษาพบปจจัยส่งแวดลอมและพฤติกรรม
                                                 (39)
                                               ั
               มีผลมากกวาพันธุกรรมโดยตรง ดังน้น หลักฐานทางระบาดวิทยายังไมมีเพียงพอที่จะบอกวา ความแปรผัน
               หลากหลายทางพันธุกรรม จะเปนปจจัยเสี่ยงตอโรคปริทันตจริงๆ (29)


                 ปจจัยสิ่งแวดลอมและพฤติกรรมที่ไดรับมา

                      5. เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา รายได

                       พิจารณาจาก อาชีพ ลักษณะงานท่ทำ ลักษณะบานเรือนท่อยูอาศัย ระดับการศึกษา และรายได
                                                     ี
                                                                          ี
               ครอบครัว จากการศึกษาท่ผานมา พบความสัมพันธระหวางโรคปริทันตกับปจจัยดานเศรษฐกิจสังคม
                                       ี
               โดยพบวา อัตราการเกิดโรคที่สูงในคนที่มีเศรษฐานะต่ำ บทบาทท่สำคัญของปจจัยน้ คือ โอกาสท่เขาถึง
                                                                                          ี
                                                                         ี
                                                                                                     ี
               การปองกันโรค (29)
                      6. เชื้อแบคทีเรีย


                       แบคทีเรีย 3 สายพันธุ ไดแก Actinobacillus actinomycetemcomitans, P. gingivalis, และ
                                                                              ี
               Bacteroides forsythus (Tanerella Forsythensis) พบไดมากในคนท่เปนโรคปริทันต การศึกษาในเด็ก
                                                                                              ื
                                                                          ิ
               การศึกษาหน่ง  ไดวิเคราะหคราบจุลินทรียจากรองเหงือก ผิวฟนและล้น พบวามีสัดสวนของเช้อทั้งสามชนิดนี ้
                          ึ
                           (40)
                                                                                                 ื
               อยูปริมาณมากท้งๆ ที่ไมพบการอักเสบของเหงือก ความสัมพันธระหวางระดับของการเกาะของเช้อเฉพาะกับ
                             ั
               การเกิดโรคปริทันตไดรับการสนับสนุนจากการศึกษาระยะยาวหลายๆ การศึกษา   (29)
                      7. การสูบบุหรี่

                       การสูบบุหร่เปนปจจัยท่มีความสัมพันธท้งความชุกและความรุนแรงของโรคปริทันตอยางชัดเจน
                                                          ั
                                 ี
                                            ี
                                                                   (42)
               จากการศึกษาในระดับ cross-sectional  และ longitudinal  หลายๆ การศึกษาพบวา ผลจากการสูบบุหร   ่ ี
                                                 (41)
                                                                    ี
               มีผลตอการตอบสนองในการรักษาโรคปริทันต คนท่สูบบุหร่จะมีอัตราการตอบสนองตอการรักษาต่ำกวา
                                                             ี
                                                                                            (29)
               คนที่ไมสูบบุหรี่ และในคนที่เลิกสูบบุหรี่จะมีอัตราการสูญเสียฟนนอยกวาคนที่กำลังสูบอยู  กลไลการเกิด
                                                     ั
                                        ี
                 ื
               เน่องจากสารนิโคตินในบุหร่จะไปมีผลยับย้งการเจริญเติบโตของไฟโบบลาส (fibroblast) ทำใหการผลิต
                                                                   ึ
                                                                 ิ
               คอลลาเจนลดลง และสงผลตอการทำลายคอลลาเจนเพ่มข้นดวย นอกจากนี้ยังมีผลตอการยึดเกาะของ
                                                                  ื
                                      ี
               อวัยวะปริทันต การสูบบุหร่จะลดปริมาณออกซิเจนในเนื้อเย่อ ทำใหติดเช้อไดงาย แบคทีเรียเจริญเติบโตไดดี
                                                                             ื
               ทำใหเกิดโรคปริทันต การทำงานของเซลลในรางกาย เชน เซลลเม็ดเลือดขาวท่เก่ยวของกับการอักเสบ
                                                                                        ี
                                                                                      ี
                                                                  (43)
               (polymorphonuclear leukocyte) มีประสิทธิภาพลดลง




                                                                                                               144
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152