Page 148 - Ebook
P. 148

8. เบาหวาน

                       เบาหวาน เปนปจจัยหลักของโรคปริทันต  โดยเฉพาะผูปวยท่มีการควบคุมเมตาโบลิซึมในรางกายต่ำ
                                                                            ี
                                                          (44)
                                                   ั
               หลายๆ การศึกษา ไดพบความสัมพันธท้งสองทางระหวางโรคเบาหวานและปริทันต โดยจะพบการทำลาย
                                                                      ี
                                            ี
               ของอวัยวะปริทันตไดมากในคนท่เปนโรคเบาหวาน และในคนท่มีการควบคุมเมตาโบลิซึมในรางกายต่ำ จะพบ
               โรคปริทันตไดและเปนในลักษณะ dose response relationship (45, 46)

                       โรคเบาหวานชนิดท่พบไดบอย โดยพบ 95% ของผูปวยท่เปนเบาหวาน และมักเกิดในผูปวยอายุ 40 ป
                                       ี
                                                                       ี
                ึ
                                                                           ี
                                          ี
               ข้นไป ไดแก โรคเบาหวานชนิดท่ 2 หรือมักเรียกวา โรคเบาหวานชนิดท่ไมตองการฮอรโมนอินซูลิน (non-insulin
                                                       ึ
               -dependent diabetes mellitus: NIDDM) ซ่งรางกายผูปายมีการสรางฮอรโมนอินซูลินปกติ แตมีความผิดปกต ิ
               ท่เซลลโดยมีความสามารถในการตอบสนองตอฮอรโมนอินซูลินในเน้อเย่อเปาหมายลดลง (insulin resistance)
                ี
                                                                         ื
                                                                            ื
                                                                          ิ
                                                                            ึ
               ทำใหกลูโคสไมสามารถเขาสูเซลลไดปกติ ทำใหระดับน้ำตาลในเลือดเพ่มข้นมาก สงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง
                                                                                               ึ
                                                                                             ิ
               ในชองปาก ไดแก พบระดับน้ำตาลกลูโคสในน้ำลายและน้ำในรองเหงือก (crevicular fluid) เพ่มข้น ทำใหมีอิทธิพล
                   ื
                                                                                                      ี
               ตอเช้อแบคทีเรียในชองปากเจริญไดดี รวมกับผลจากภาวะปากแหง มีการหลั่งของน้ำลายนอย เกิดภาวะเส่ยงตอการ
               ติดเช้อฉวยโอกาส (opportunistic infection) ในชองปากไดงาย เชน เช้อรา แบคทีเรียและไวรัส และมีการ
                                                                               ื
                   ื
               หายของแผลชาลง กระดูกเบาฟนละลาย (alveolar bone resorption) เน่องจากมีปริมาณแรธาตุในกระดูกลดลง
                                                                              ื
                                                                                        ึ
               และการมีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงจะทำใหมีการสรางสารอนุมูลอิสระในปริมาณท่มาก ซ่งสงผลตอการเปล่ยนแปลง
                                                                                  ี
                                                                                                      ี
               และการเสื่อมสภาพของการทำงานของอวัยวะในรางกาย    (44)
                       ในผูปวยที่มีโรคเบาหวานจะมีระดับฮีโมโกลบิน HbA1c สูง การศึกษาของ Stewart และคณะ  ในป 2001
                                                                                                   (47)
                                                                  ึ
                                                     ี
                                   ี
               ติดตามคนไข 72 คนท่มีโรคเบาหวานชนิดท่ 2 พบวาในคร่งหนึ่งของกลุมตัวอยางไดรับการรักษาโรคปริทันต
                                                                             ี
                                            ี
                                          ึ
               เปนเวลา 18 เดือน และอีกคร่งท่เหลือไมไดรับการรักษา พบวากลุมท่ไดรับการรักษาโรคปริทันตจะมีระดับ
                                                                              ี
               ฮีโมโกลบิน HbA1c ลดลงอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (ลดลง 17.1% ในกลุมท่ไดรับการรักษา, ลดลง 6.7% ในกลุมที ่
               ไมไดรับการรักษา) เชนเดียวกับการศึกษาของ Rodrigues และคณะ (2003)  ในผูปวยโรคเบาหวานชนิดท่ 2
                                                                                                            ี
                                                                                 (48)
               จำนวน 30 คนตอกลุม กลุมท่ 1 ไดรับการรักษาโรคปริทันตแบบไมขูดหินปูนหรือเกลารากฟน แตไดรับยาฆาเช้อ
                                                                                                             ื
                                        ี
               แบคทีเรีย amoxicillin และ clavulanic acid ในขณะท่กลุมท่ 2 ไดรับการขูดหินปูนและเกลารากฟน พบวา
                                                                      ี
                                                                 ี
               ท้งสองกลุม มีระดับ HbA1c ลดลง ในระยะเวลา 3 เดือน  แตกลุมท่ไดรับการขูดหินปูนและเกลารากฟนจะลดลง
                ั
                                                                        ี
               อยางมีนัยสำคัญทางสถิต ิ
                      9. โรคอวน

                       คำอธิบายทางชีวภาพของโรคอวนและโรคปริทันต คือ สภาวะท่มีการอักเสบมากกับการเมตาโบลิซึม
                                                                              ี
               ของไขมันที่ผิดปกติของคนโรคอวนเชนเดียวกับกลไกการตอตานระดับอินซูลินในรางกาย ซึ่งอาจจะทำใหมีการ

               ทำลายของอวัยวะปริทันตสูง หลายการศึกษา (29, 49) พบความสัมพันธของดัชนีมวลกาย (body mass index (BMI))

                ี
                                                                 ี
               ท่มากกวา 30 กับโรคปริทันต บางการศึกษาพบวาคนท่มีน้ำหนักมากและมีคาดัชนีการตอตานอินซูลินสูง
                                                     ี
               มีโอกาสท่จะเปนโรคปริทันตไดมากกวาคนท่มีคา BMI สูงแตมีดัชนีการตอตานอินซูลินต่ำ ถึง 1.5 เทา (50)
                       ี

      145
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153