Page 146 - Ebook
P. 146

ปจจัยที่ไมสามารถเปลี่ยนแปลงได

                      1. อายุ

                       การสะสมของคราบจุลินทรียมีความสัมพันธกับโรคเหงือกอักเสบ อยางไรก็ตาม ในบางตำแหนง

                                                                                        ึ
                                                                              ื
                                     ี
               ท่เหงือกปกติมีแนวโนมท่จะมีภาวะเหงือกอักเสบและปริทันตอักเสบไดเม่ออายุมากข้น ในขณะท่มีปริมาณ
                ี
                                                                                                   ี
                                                                                              ื
               คราบจุลินทรียเทาเดิม อาจเน่องมาจากการตอบสนองของการอักเสบมีการเปล่ยนแปลงไปเม่ออายุมากขึ้น
                                                                                                         (30)
                                        ื
                                                                                  ี
               ความสัมพันธระหวางอายุกับโรคปริทันต ไมไดเปนเสนตรงเสมอไป ในการศึกษาระยะแรกๆ แสดงวา
                                                                                                 ี
                                                           ึ
                ั
                                                        ิ
                                                                        ึ
                                                                               ี
               ท้งความชุกและความรุนแรงของโรคปริทันตจะเพ่มข้นเม่ออายุมากข้น โดยท่อายุอาจจะเปนตัวบงช้การสูญเสีย
                                                              ื
                                                      ี
                                                   ื
               อวัยวะปริทันตได อยางไรก็ตาม ความเช่อท่วาโรคปริทันตเปนโรคของผูสูงอายุไดมีการเปล่ยนแปลงไป
                                                                                                ี
                                                             (31)
                                      ั
                                                                         ิ
                                                                       ี
               โดยอาจพบโรคปริทันตไดต้งแตในวัยรุนและวัยทำงาน  แตอายุท่เพ่มขึ้นเปนสัญญาณที่บอกวา มีการสะสม
                                                                     ี
                                           ั
                                                                                         ิ
                      ี
                              ึ
               ปจจัยเส่ยงมากข้นตางหาก ดังน้น ระดับความไวหรือความเส่ยงตอการเกิดโรคเปนส่งสำคัญมากกวาอาย  ุ
               โดยบุคคลท่มีความเส่ยงสูงตอโรคปริทันตต้งแตอายุนอยๆ มีโอกาสเปนโรคปริทันตไดมากกวา เปนท่นาสังเกตวา
                                                  ั
                                                                                                 ี
                                 ี
                         ี
                 ื
               เม่ออายุมากขึ้นความลึกของรองปริทันต (pocket depth)  ลดลง ในขณะท่ระดับการสูญเสียอวัยวะปริทันต
                                                                                ี
               (clinical attachment loss) เพิ่มขึ้น (32, 33)
                      2. เพศ
                       ถึงแมวาจะไมมีหลักฐานท่ชัดเจนถึงความแตกตางระหวางเพศชายและเพศหญิงตอความเส่ยงของ
                                                                                                     ี
                                             ี
               โรคปริทันต แตก็พบวา ผูชายมักจะมีสภาวะปริทันตท่แยกวาผูหญิง (32, 34)  ความแตกตางน้สะทอนใหเห็นถึง
                                                                                            ี
                                                             ี
                                                                                                 ี
                                           (35)
                                                                                      (36)
                                      ี
               พฤติกรรมการดูแลสุขภาพท่ดีกวา และการใชบริการทางทันตกรรมท่สูงกวาในผูหญิง  นอกจากน้โรคปริทันต
                                                                         ี
               เปนโรคที่มีความเก่ยวของกับอิมมูนในรางกาย ถึงแมจะไมเห็นความแตกตางอยางชัดเจน แตก็มีความแตกตาง
                               ี
               ระหวางเพศอยูบาง (29)
                      3. เชื้อชาติ
                       ถึงแมวาจะพบความแตกตางของความชุกของโรคปริทันตระหวางประเทศ แตก็ไมไดบงบอกถึง
                                      ื
               ความแตกตางของปจจัยเช้อชาติตอโรคปริทันต ในขณะที่ปจจัยดานเช้อชาติมีความสัมพันธอยางมากกับ
                                                                             ื
                                                                          ี
               ปจจัยเศรษฐกิจและสังคม ความแตกตางของเช้อชาติในบางประเทศท่เห็น เชน ในประเทศอเมริกา คนผิวดำ
                                                       ื
               มีความชุกของโรคปริทันตสูงกวาคนผิวขาว มีแนวโนมท่เกิดจากปจจัยกวนในเร่องปจจัยดานเศรษฐกิจและ
                                                                                   ื
                                                               ี
                                                                                             ึ
               สังคมมากกวา โดยพบวาในคนผิวดำมักจะมีระดับการศึกษาและรายไดต่ำกวาคนผิวขาว ซ่งอาจจะมีผลตอ
               พฤติกรรมการปองกันโรค ทำใหผลการสำรวจของประเทศจึงพบวาพบโรคปริทันตสูงกวาในคนผิวดำ    (37, 38)







      143
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151