Page 184 - Ebook
P. 184
3. การหาความเที่ยงเชิงความสอดคลองภายใน (internal consistency) เปนการประเมิน
ความสอดคลองภายในของขอคำถามในแบบวัดหรือแบบประเมินเดียวกัน ตัวอยางเชน ในกรณีที่ขอคำถาม 2 ขอ
ถามคลายกันหรือถูกออกแบบมาใหใชวัดคุณลักษณะเดียวกัน กลุมผูทำแบบประเมินควรจะตอบหรือใหคะแนน
ั
เหมือนกันท้ง 2 ขอ หรือใหคะแนนในทิศทางเดียวกัน จึงจะเรียกไดวาขอคำถามหรือแบบประเมินมีความสอดคลอง
ภายในและทำใหแบบประเมินนี้มีความคงที่สูง
ในการวิเคราะหความสอดคลองภายใน มีหลายวิธี ไดแก
3.1 วิธีแบงครึ่งแบบทดสอบ (split-half method) เปนการนำแบบทดสอบฉบับเดียวไปทดสอบ
ั
ึ
ี
กับบุคคลกลุมเดียว แลวแบงคร่งแบบทดสอบท่วัดในประเด็นเดียวกันออกเปน 2 สวน และนำคำตอบ 2 สวนน้น
ึ
มาเปรียบเทียบกันและนำคะแนนท่ไดจากการแบงคร่งแบบทดสอบไปหาสหสัมพันธกันตามวิธีของเพียรสัน
ี
ั
ึ
ิ
ื
(Pearson’s correlation coefficient) การหาสัมประสิทธ์ความเช่อม่นแบบแบงคร่งแบบทดสอบมีขอตกลงวา
ั
ื
ึ
เม่อแบงคร่งแบบทดสอบแลว แบบทดสอบท้งสองฉบับน้นจะตองมีคุณสมบัติเหมือนแบบทดสอบคูขนาน
ั
ทุกประการ
ตัวอยางเชน หากตองการหาคาความเที่ยงของการทดสอบวิชาคณิตศาสตร ตองทำการสรางคำถาม
100 ขอ และทำการสุมแบงคำถามเปน 2 ชุด ชุดละ 50 ขอ (ชุด A และ ชุด B) และนำคำถามน้นใหนักเรียน
ั
กลุมเดียวกันทดสอบ
ขั้นที่ 1: ใหชุดขอสอบ A กับนักเรียนวันจันทรเพื่อทดสอบ
ขั้นที่ 2: ใหชุดทดสอบ B กับนักเรียนกลุมเดิมในวันศุกร
ขั้นที่ 3: หาคาสหสัมพันธของแบบทดสอบทั้งสองชุด
ื
ิ
3.2 วิธีสัมประสิทธ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha method) เปนการแบงเคร่องมือ
ื
วิจัยออกเปน k สวน และเม่อคำนวณความแปรปรวนของคะแนนแตละสวนและความแปรปรวนของคะแนน
ื
ั
ื
ิ
รวมสามารถนำไปใชประมาณคาความเช่อม่นแบบความสอดคลองภายในที่นำเสนอในช่อ“สัมประสิทธ์แอลฟา
ของครอนบาค (α-Coefficient)”
ื
ในการหาสัมประสิทธ์แอลฟาจะใหคาความเช่อม่นของเคร่องมือวิจัยไดดี ก็ตอเม่อเครื่องมือวิจัยชุดน้น
ั
ื
ั
ื
ิ
ั
ไดวัดคุณลักษณะเพียงคุณลักษณะเดียวเทาน้น และจำนวนขอหรือองคประกอบแตละองคประกอบในฉบับม ี
181