Page 179 - Ebook
P. 179

ี
                                                                                     ื
                       3.2) ความตรงตามพยากรณ (predictive validity) หมายถึง เคร่องมือท่สามารถใหขอมูลได
                                                   ึ
                                              ี
                                                                                                     ื
               สอดคลองกับสภาพความเปนจริงท่เกิดข้นในอนาคต เชน แบบทดสอบความถนัดทางทันตกรรม เม่อนำไปใช
               สอบคัดเลือกบุคคลเขาเรียนตอคณะทันตแพทยศาสตร ปรากฏวา นาย ก สอบคัดเลือกไดและไดคะแนนมาก

                                        ื
               เปนอันดับตนๆ (1 ใน 10) เม่อ นาย ก เขาไปเรียน ปรากฏวา ผลการเรียนทางคลินิกอยูในเกณฑดีมากไดเกรด A

               เกือบทุกวิชา และมีอันดับเปน 1 ใน 10 ของนักศึกษาท้งหมด  แสดงวา แบบทดสอบความถนัดทางทันตกรรม
                                                               ั
               มีความตรงเชิงพยากรณ


                       ความตรงตามสภาพการณและความตรงเชิงพยากรณ แตกตางกันตรงที่ระยะเวลาในการวัดเกณฑ

                                                                         ี
                 ี
               ท่ใชเปนสำคัญ ถาเก็บขอมูลและวัดเกณฑของเครื่องมือภายนอกท่ตองการเปรียบเทียบในเวลาเดียวกัน เรียก
                                                                                ื
                                                                                          ั
               ความตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑวา ความตรงตามสภาพการณ แตถานำเคร่องมือฉบับน้นไปเก็บขอมูลมากอน
               แลวไปเก็บ (วัด) เกณฑภายนอกมาภายหลัง เรียก ความตรงเชิงพยากรณ


                       เครื่องมือรวบรวมขอมูลที่จะนำไปตรวจสอบหาความตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑไดจะตองเปนประเภท

                 ี
                                ี
                                                      ึ
               ท่มีรูปแบบคำถามท่สามารถใหเปนคะแนน ซ่งมีความหมายในเชิงการวัดได เชน แบบทดสอบ แบบประเมินคา
               และแบบมาตรวัดเจตคติ เปนตน การตรวจสอบความตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑทำไดหลายวิธี เชน



                       วิธีที่ 1 การหาสัมประสิทธ์ความเท่ยงตรง (validity coefficient) เปนการหาสหสัมพันธระหวางผล
                                                     ี
                                              ิ
                                    ี
               การวัดของเคร่องมือท่ตองการหากับเกณฑที่กำหนด เชน ตองการหาความตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑ
                             ื
               ของแบบทดสอบความรูท่วไปท่ใชสอบคัดเลือกนักศึกษาเขาเรียนในมหาวิทยาลัยและกำหนดคะแนนผลการเรียน
                                          ี
                                     ั
               ในมหาวิทยาลัยเปนเกณฑ การหาความตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑวิธีน้ ก็จะเอาคะแนนผลการสอบเขากับคะแนน
                                                                         ี
               ผลการเรียนในมหาวิทยาลัยไปคำนวณหาคาสัมประสิทธ์แบบเพียรสัน (Pearson correlation coefficient)
                                                                ิ

               (กรณีท่เปนคะแนน) หรือสหสัมพันธแบบไบซีเรียล (Biserial) (กรณีคะแนนเปน 2 กรณี อาทิ ผาน-ไมผาน,
                      ี
               มีเจตคติเปน บวก-ลบ) คาสหสัมพันธชนิดนี้อาศัยความแตกตางระหวางคะแนนเฉล่ยที่ไดจากเกณฑ 2 กลุม
                                                                                         ี

               และคาสวนเบ่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนท้งหมดกับสัดสวนของผูท่อยูในกลุมเกณฑตัวอยาง การหาสัมประสิทธ ิ ์
                                                    ั
                           ี
                                                                        ี
               ความเที่ยงตรงวิธีที่ 1 นี้ เปนการวัดความตรงเชิงพยากรณ



                       วิธีที่ 2 การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางกลุม (group separation) เปนการแบงกลุมตัวอยาง


                                                               ี
                                                                                                        ื
                 ี
               ท่ตองการนำเครื่องมือไปทดลองใชเปน 2 กลุมตามเกณฑท่กำหนด เชน อาจแบงเปนกลุมคนซ่อสัตยกับคนไมซ่อสัตย
                                                                                           ื
                                                                                                               176
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184