Page 178 - Ebook
P. 178
ี
ั
หรือขอสมมติฐานท่ต้งไวหรือไม ถาตรงก็แสดงวามีความตรงตามโครงสราง
ี
ี
2.5 การตรวจดวยการเทียบกับกลุมท่รูชัด (known group) เปนวิธีเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ย
ี
ี
ี
ระหวางกลุมท่รูวามีลักษณะท่ตองการวัดอยูแลวกับกลุมท่เรารูวาไมมีคุณลักษณะท่ตองการวัด เชน หากจะหา
ี
ความเท่ยงตรงเชิงโครงสรางของแบบวัดความเหงาหงอย อาจทําโดยนําแบบวัดความเหงาหงอย ไปทดสอบ
ี
กับกลุมตัวอยางในโรงพยาบาลท่แพทยระบุวาเปนโรคเหงาหงอย (กลุมรูชัดวามีลักษณะท่ตองการวัด)
ี
ี
ั
ี
ี
กับกลุมคนปกติท่วไป (กลุมรูชัดวาไมมีหรือมีคุณลักษณะท่ตองการวัด) แลวนำคะแนนท่ไดมาทดสอบนัยสําคัญ
ทางสถิต
2.6 การตรวจโดยหลายคุณลักษณะ-หลายวิธี (multitrait multimethod matrix = MTMM)
วิธีนี้ Campbell and Fiske ไดเสนอไวเมื่อ 1959 เครื่องมือวัดที่จะตรวจสอบดวยวิธีนี้จะตองมีการวัดหลาย
5
ลักษณะและหลายวิธี โดยการตรวจสอบความตรงเชิงลูเขา (convergent validity) กับความตรงเชิงจำแนก
ื
(discriminant validity) ความตรงเชิงลูเขาเปนการหาสหสัมพันธระหวางเคร่องมือวัดลักษณะเดียวกันแตวัดดวย
วิธีตางกัน สวนความตรงเชิงจำแนกเปนการหาสหสัมพันธระหวางเครื่องมือวัดที่วัดลักษณะตางกัน แตวัดดวย
วิธีเดียวกัน
3) ความตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑ (criterion-related validity) ความตรงประเภทน้เปนการพิจารณา
ี
ความสัมพันธระหวางเครื่องมือรวบรวมขอมูลกับเกณฑภายนอกบางอยาง ซ่งเปนสภาพความเปนจริงที่ได
ึ
จากการปฏิบัติ ความตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑ แบงออกเปน 2 ประเภทยอย ไดแก
ี
ื
3.1) ความตรงตามสภาพ (concurrent validity) หมายถึง ลักษณะของเคร่องมือท่สามารถวัดได
ี
ี
ตรงตามสภาพความเปนจริงของผูท่ถูกวัดในขณะน้น ความเที่ยงตรงตามสภาพน้เราไมสามารถวัดไดจริงๆ โดยใช
ั
แบบทดสอบ แตเราตองเอาคะแนนของเด็กไปเปรียบเทียบกับสภาพจริงของเด็กดูวาสอดคลองกันหรือไม
เชน แบบสอบถามวัดคุณภาพชีวิตในมิติที่สัมพันธกับสุขภาพชองปาก ถานำไปใหนักเรียนคนหน่งตอบ
ึ
ึ
ซ่งพบวาเด็กนักเรียนคนน้มีคุณภาพชีวิตท่ดีมาก เปนท่รูกันท่วผลการตอบปรากฏวาไดคะแนนคุณภาพชีวิตมาก
ั
ี
ี
ี
ึ
ี
หมายความวา เปนคนที่มีคุณภาพชีวิตท่ดีซ่งตรงกับสภาพความเปนจริงของเด็กนักเรียนผูน้นจริง แสดงวา
ั
แบบสอบถามวัดคุณภาพชีวิตนี้มีความตรงตามสภาพการณ
175