Page 177 - Ebook
P. 177

ึ
               หรือไม  ปญหาสำคัญของการพิจารณาความตรงตามโครงสรางก็คือ การกำหนดโครงสราง ซ่งจะตองมีกรอบ
               ความคิด มีแนวทฤษฎีและขอมูลเชิงประจักษสนับสนุนจะตองกำหนดใหละเอียด ชัดเจนและสามารถวัดได


                        ื
                   ั
                                                  ึ
                                 ื
               ฉะน้น เม่อสรางเคร่องมือหรือแบบวัดข้น โดยใหมีความสัมพันธสอดคลองกับกรอบความคิดหรือทฤษฎีตาม
                                    ื
                                                 ั
               โครงสรางที่กำหนด เคร่องมือแบบวัดน้นก็จะมีความตรงตามโครงสราง เชน การศึกษาความสัมพันธระหวาง
               รูปแบบการเล้ยงดูเด็กของพอแม (parenting style) กับโรคฟนผุ (dental caries) หากมีหลักฐานจากการศึกษา
                           ี
               ท่ผานมาสนับสนุนวา สามารถแบงรูปแบบการเล้ยงดูของพอแมได 4 รูปแบบ ไดแก แบบเอาใจใส (authoritative),
                 ี
                                                       ี
                                                                                ิ
               แบบควบคุม (authoritarian), แบบตามใจ (permissive) และแบบทอดท้ง (uninvolved) นักวิจัยสามารถ
                                                                          ี
               ทดสอบความถูกตองตามโครงสรางของแบบวัดรูปแบบการเล้ยงดูท่สรางข้นมาตามแนวคิดดังกลาวได โดยนำ
                                                                    ี
                                                                               ึ
               แบบวัดน้นไปใชกับกลุมตัวอยาง และมาทำการวิเคราะหองคประกอบขอคำถามแตละขอวาสามารถจัดหมวดหม ู
                       ั
               ไดตรงกับรูปแบบการเลี้ยงดูหรือไม


                       การตรวจสอบความตรงตามโครงสรางทำใหหลายวิธี เชน


                       2.1 การตรวจเชิงเหตุผล (logical Validity) เปนการตรวจสอบเนื้อหาของขอคำถามวาสอดคลอง

               หรือตรงตามกรอบความคิดหรือทฤษฎีท่ใชกำหนดเปนโครงสรางในการวัดหรือไม การตรวจก็กระทำเหมือนกับ
                                                  ี

               การตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาดังกลาว โดยจัดทำเปนตารางโครงสรางและใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบให


                                                             ี
                       2.2 การตรวจหาความสัมพันธกับเกณฑท่มีโครงสรางเหมือนกัน (convergent validity) วิธีนี้
                                           ิ
                                                                                     ี
               กระทำดวยการหาคาสัมประสิทธ์สหสัมพันธระหวางขอมูลหรือคะแนนจากแบบวัดท่เราสรางกับแบบวัดของคนอ่น
                                                                                                            ื
                                                ึ
               ท่วัดในทฤษฎีหรือโครงสรางเดียวกัน ซ่งสรางและพิสูจนไวกอนแลววามีความตรงตามโครงสราง ถาแบบวัดของเรา
                 ี
               มีสหสัมพันธกับของเขาสูงก็แสดงวา แบบวัดที่เราสรางขึ้นมีความตรงตามโครงสรางเหมือนกัน


                       2.3 การตรวจหาความสัมพันธกับเกณฑท่มีโครงสรางตางกัน (discriminant validity) วิธีนี้เปน
                                                            ี
               การวัดระดับของความแตกตางกันของแบบวัดที่ควรจะแตกตางกันตามทฤษฎี ตัวอยางเชน ความเที่ยงตรงเชิง


               จําแนกของแบบทดสอบวัดความสามารถทางคํานวณ เราอาจจะไปหาความสัมพันธกับคะแนนของแบบวัด

                                                                                     ี
                                                                                               ี
                                               ั
                                      ื
               ความสามารถทางภาษา เม่อแบบวัดท้งฉบับน้มีความสัมพันธต่ำก็เปนหลักฐานบงช้วามีความเท่ยงตรงเชิงจําแนก
                                                      ี
                                                                                       ี
                       2.4 การตรวจดวยวิธีวิเคราะหองคประกอบ (factor analysis) วิธีการน้เปนวิธีการทางสถิติสำหรับ
                                                                                                 ื
               ตรวจหาคุณสมบัติทางจิตวิทยา ดวยการวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางขอคำถามแตละขอ เพ่อระบุลักษณะ
               รวมของขอคำถามเหลาน้นวา ขอคำถามท้งหมดท่วัดน้นประกอบดวยองคประกอบอะไรบาง ตรงตามทฤษฎ       ี
                                                               ั
                                                           ี
                                                    ั
                
                                     ั
                                                                                                               174
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182