Page 180 - Ebook
P. 180

ี
               นักเรียนหองเกงกับหองออน เปนตน แลวนำคะแนนท่ไดมาหาคาเฉล่ยและความแปรปรวนแลวนำไปเปรียบเทียบ
                                                                        ี
                                                                                                ี
               ดวยการทดสอบที (t-test) ถาผลการเปรียบเทียบพบวาแตกตางอยางมีนัยสำคัญ โดยกลุมท่ไดคะแนนเฉล่ย
                                                                                                            ี
               ที่สูงกวาเปนกลุมที่มีลักษณะที่ตองการ แสดงวา เครื่องมือนั้นมีความที่ยงตรงตามเกณฑสัมพันธเชิงสภาพจริง




               ตารางที่ 52 เปรียบเทียบความแตกตางของลักษณะความตรง 3 ประเภท



                                                                               ความตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑ
                                ความตรงตามเนื้อหา    ความตรงตามโครงสราง       (criterion-related validity)
                                (content validity)   (construct validity)    ความตรงตามสภาพ   ความตรงตามพยากรณ
                                                                           (concurrent validity)  (predictive validity)



                               เปนการวัดวาเครื่องมือ  เปนการวัดวาเครื่องมือ  เปนการวัด  เปนการวัด
                               นั้นครอบคลุมเนื้อหา   นั้นวัดไดตามหลักการ  ความสามารถของ     ความสามารถของ
                 ความหมาย      ตามที่ตองการวัดหรือไม  ของทฤษฎีนั้นๆหรือไม  เครื่องมือในการประเมิน  เครื่องมือในการประเมิน
                                                                           สภาพความเปนจริง   สภาพความเปนจริง
                                                                           ณ ปจจุบัน        ที่เกิดขึ้นในอนาคต




                               อาศัยดุลพินิจของผูเชี่ยวชาญ  หาความสัมพันธระหวาง  หาความสัมพันธของ  หาความสัมพันธของ
                               ในการประเมิน          ขอมูลหรือคะแนนจากแบบวัด  ลักษณะที่ไดจากแบบวัด  ลักษณะที่ไดจากแบบวัด
                                                     ที่เราสรางขึ้นกับแบบวัดของ  หรือเครื่องมือที่สราง  หรือเครื่องมือที่สราง
                  วิธีการวัด                         คนอื่นที่วัดในทฤษฎีหรือ  ขึ้นกับพฤติกรรมของ  ขึ้นกับพฤติกรรมของ

                                                     โครงสรางเดียวกันซึ่งสราง  บุคคลนั้น ณ ปจจุบัน  บุคคลนั้น ในอนาคต
                                                     หรือพิสูจนไวกอนแลว





                                               6
               วิธีเพิ่มความถูกตองในการวัด

               1.   กำหนดมาตรฐานการวัด โดยระบุคำนิยามเชิงปฏิบัติการ (operational definition) และวิธีการวัดตัวแปร

                    อยางละเอียดชัดเจนในการศึกษา เพื่อใหผูวัดผลใชเปนคูมือในการศึกษา

                                                                           ี
               2.   จัดฝกอบรมเพ่อปรับมาตรฐานการตรวจ การสัมภาษณ ใหผูท่มีสวนเก่ยวของในการเก็บขอมูลทุกคน
                                 ื
                                                                                  ี
                    ไมวาจะเปนผูตรวจ ผูสัมภาษณ หรือผูบันทึกคาการตรวจ เพื่อใหมีความเขาใจเกณฑการวัดอยางถูกตอง


                               ื
               3.   ปรับปรุงเคร่องมือวัด เชน ทดสอบความถูกตองของแบบสอบถามและปรับคำถามใหชัดเจน เขาใจงาย
                    กอนการใชงาน

               4.   การใชเคร่องมืออัตโนมัติแทนการใชคนวัด เชน การใชเคร่องมือตรวจปริทันตแบบอิเล็กทรอนิกส
                              ื
                                                                          ื
                                                ื
                    (electronic probe) แทนเคร่องมือตรวจดวยมือ (manual probe) สามารถลดอคติของผูวัดได



      177
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185