Page 183 - Ebook
P. 183
ี
ี
ั
ี
ไมมีผลทำใหพฤติกรรมเปล่ยนแปลง ดังน้น แบบทดสอบที่ใชวัดพฤติกรรมบางอยางท่เปล่ยนแปลงเร็ว
เชน ทัศนคติ ความสนใจ จึงไมนิยมใชวิธีนี้
ี
ี
2. การหาความเท่ยงเชิงความคลายกัน (equivalent reliability) วิธีการน้เปนการหาสัมประสิทธ ิ ์
ี
ของความคลายกัน (coefficient of equivalence) ทำไดโดยการทดสอบท่เปนคูขนาน (parallel-forms method)
ี
ื
เปนการนำแบบทดสอบท่มีลักษณะคูขนานกันหรือเทาเทียมกัน โดยมีเน้อหาลักษณะหรือรูปแบบการถาม
ั
การตอบของขอคำถามอยางเดียวกัน คาเฉลี่ยและความแปรปรวนเทากัน ไปทดสอบกับกลุมตัวอยางคร้งเดียว
ี
ั
พรอมกันท้งสองชุดในเวลาเดียวกันหรือเวลาท่แตกตางกันก็ได คะแนนท่ไดจากการทดสอบทั้งสองฉบับ
ี
ี
ิ
ื
ั
มีสหสัมพันธ คาสหสัมพันธท่ไดเปนคาสัมประสิทธ์ความเช่อม่นของแบบทดสอบ ขอจำกัดของการหาความเช่อม่น
ั
ื
แบบใชขอสอบคูขนานน้ คือ สรางแบบทดสอบคูขนานไดยาก เน่องจากตองสรางขอสอบใหมีความยากงายเทากัน
ี
ื
ื
ื
ี
ั
การวัดคุณลักษณะที่เปล่ยนแปลงไดงายไมควรหาความเช่อมั่นดวยวิธีนี้ เพราะจะทำใหคาความเช่อม่นต่ำกวาเปนจริง
ี
ตัวอยางเชน หากตองการหาคาความเท่ยงของแบบทดสอบเชิงความคลายกัน ตองทำการสรางแบบทดสอบ
ื
ี
ท่เปนเคร่องมืออีกหนึ่งชุด ท่ออกแบบมาเพ่อวัดส่งเดียวกัน วัตถุประสงคเดียวกัน โครงสรางเดียวกัน
ิ
ื
ี
ั
กับแบบทดสอบชุด A แตตางกันตรงการใชคำถาม (wording) และนำคำถามน้นใหนักเรียนกลุมเดียวกันทดสอบ
คะแนนแบบทดสอบ
นักเรียน
แบบทดสอบชุด A แบบทดสอบชุด B
คนที่ 1 85 83
คนที่ 2 75 77
คนที่ 3 63 60
คนที่ 4 59 57
คนที่ 5 91 89
180